Page 162 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 162

การใช้ประโยชน์จากสัตว์หน้าดิน                                                          144



                           5.5.1.2 การเพิ่มปริมาณสัตว์หน้าดินในบ่อปลาเพื่อเป็นอาหารสัตว์น ้า

                           สัตว์หน้าดินมีความส าคัญในแง่เป็นของอาหารสัตว์น ้า การเลี้ยงสัตว์น ้าในบ่อดินเช่นการเลี้ยงปลา
                  และเลี้ยงกุ้ง การสร้างสัตว์หน้าดินให้เกิดขึ้นในบ่อเลี้ยงสัตว์น ้าจะช่วยสร้างอาหารธรรมชาติให้แก่สัตว์น ้าเป็น

                  การลดต้นทุนด้านอาหาร การสร้างสัตว์หน้าดินในบ่อเลี้ยงสัตว์น ้าท าโดยการเติมปุ๋ยเช่นปุ๋ยคอกจ าพวกมูลสัตว์

                  เช่น มูลสุกร มูลวัวหรือมูลไก่หรือปุ๋ยเคมี รวมทั้งการใช้วัสดุเหลือให้ทางการเกษตรมากองวางไว้เป็นจุดในบ่อ
                  เลี้ยงสัตว์น ้า เพื่อสร้างอาหารให้แก่สัตว์หน้าดินจ าพวกไส้เดือนน ้า ตัวอ่อนของหอย กุ้ง ปูและพวกไรน ้ามีการ

                  เพิ่มจ านวน และยังเป็นการล่อแมลงหลายชนิดให้มาวางไข่โดยเฉพาะพวกแมลงริ้นน ้าจืดให้มาวางไข่เกิดเป็นตัว

                  อ่อนของแมลงพวกหนอนแดง (Chironimid larvae) จ าพวกหนอนแดง โดยเฉพาะพวกหนอนแดงเป็นสัตว์
                  หน้าดินที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงเหมาะส าหรับใช้เป็นอาหารสัตว์น ้า ซึ่งในปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยงเพื่อ

                  น ามาใช้เป็นอาหารของสัตว์น ้าเศรษฐกิจวัยอ่อนและปลาสวยงาม


                        5.5.2 การเพาะเลี้ยงสัตว์หน้าดินเพื่อใช้เป็นอาหาร

                           สัตว์หน้าดินหลายชนิดที่มีความส าคัญทางเศรษฐกิจ เช่นกลุ่มกุ้งทะเล หอยแมลงภู่ หอยนางรมและปู

                  ทะเลต่างมีการส่งเสริมการเพาะเลี้ยงกันอย่างมาก สัตว์หน้าดินน ้าจืดยังมีการส่งเสริมการเพาะเลี้ยงน้อย
                  โดยเฉพาะสัตว์หน้าดินที่เป็นอาหารท้องถิ่นหรืออาหารพื้นบ้าน



                           (1) การเลี้ยงปูนา (rice field crabs)
                           ปูนา (rice field crabs) มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Esanthelphusa duastic (Rathbun, 1902)

                  เป็นปูน ้าจืดในวงศ์ Parathelphusidae ปูนาอาศัยขุดรูอยู่ในนาข้าวซึ่งพบได้มากกระจายทั่วไปในภาคกลาง

                  ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปูนามีกระดองเป็นรูปสี่เหลี่ยมมีฟันข้าง
                  กระดองด้านละ 4 ซี่ ปูนาเพศผู้จะมีก้ามและขนาดล าตัวใหญ่กว่าปูนาเพศเมีย ดังภาพที่ 5.14

                           ปูนาเป็นอาหารโปรตีนราคาถูกที่ส าคัญส าหรับชาวบ้านทั่วไป เราสามารถใช้ปูนามาประกอบอาหาร

                  พื้นบ้านได้หลายหลากชนิด เช่น แกงอ่อมปูนา น ้าพริกปูนาหรือใช้ปูนาดองมาต าส้มต า เราอาจน าปูนามาคั่วให้
                  หอมก่อนแล้วสับเพื่อท าเป็นลาบปูนาเป็นต้น อาหารของปูนาค่อนข้างหลากหลายได้แก่ต้นอ่อนข้าว หญ้า

                  สาหร่ายและพืชหลายชนิด นอกจากนี้ปูนายังกินพวกหอย กุ้ง ไรน ้า ลูกน ้า ไส้เดือน แมลงต่าง ๆ ลูกปูและปลา

                  ขนาดเล็กด้วย ปูนากินพวกซากพืชและสัตว์ที่เน่าเปื่อยด้วย
                           (ก) วงจรชีวิตของปูนา (ricefield crabs)

                           ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ปูนาเพศเมียจะลอกคราบและเลือกปูเพศผู้มาเพื่อผสมพันธุ์ ปูเพศผู้สอดอวัยวะ

                  สืบพันธุ์และฉีดน ้าเชื้อเข้ารูเปิดของเพศเมียบริเวณอกที่โคนขาคู่ที่ 3 น ้าเชื้อจะดูดเก็บไว้เพื่อผสมกับไข่ของปูเพศ
                  เมียซึ่งน ้าเชื้อสามารถเก็บได้นานถึง 3-4 เดือน เวลาที่ปูเพศผู้และเพศเมียจับคู่เพื่อผสมพันธุ์ใช้เวลานาน 3

                  ชั่วโมงหลังการผสมพันธุ์แล้วปูนาเพศเมียจะผลิตไข่ผ่านเข้าผสมน ้าเชื้อและส่งผ่านท่อน าไข่ฟักไว้ที่แผ่นท้องของ

                  มันเอง ปูนาเพศเมียวางไข่ประมาณ 300-400 ฟองต่อครั้งไข่ที่ถูกผสมแล้วจะเริ่มฟักเป็นตัวใช้เวลานาน
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167