Page 78 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 78

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               60



                  ติดอยู่ที่ขำเดินช่วยในกำรดึงออกซิเจนจำกอำกำศโดยตรงเพื่อใช้ในกำรหำยใจ สัตว์หน้ำดินเหล่ำนี้จะกิน

                  อำหำรพวกซำกพืชซำกสัตว์ที่ตกทับถมกันอยู่บนพื้นทรำย
                           (2) เขตตอนกลำงของหำดทรำย

                           เขตตอนกลำงของหำดทรำยเป็นเขตที่อยู่ระหว่ำงน ้ำขึ้นสูงสุดและน ้ำลงต ่ำสุด เป็นบริเวณที่มีควำม

                  หลำกหลำยของสัตว์หน้ำดินมำกที่สุด ดินที่พบในเขตนี้เป็นดินทรำยละเอียด อำจเป็นทรำยปนโคลนหรือ
                  โคลนปนทรำย สัตว์หน้ำดินที่พบบริเวณนี้เป็นพวกหอยหลำยชนิดที่ฝังตัวอยู่ในดิน เช่น หอยเสียบ หอยลำย

                  หอยตลับ เป็นต้น นอกจำกนี้ยังมีหอยทับทิม ไส้เดือนทะเลหลำยชนิดทั้งที่ฝังตัวอยู่ในดิน หรือพวกที่มีปลอก

                  หุ้มที่แข็งแรงโดยเอำเม็ดทรำยมำประกอบ พบพวกแม่หอบ (mud lobsters) ฝังตัวอยู่ในดิน ในบริเวณที่รับ
                  คลื่นโดยตรงหรือที่มีคลื่นแรงจะพบพวกจักจั่นทะเลที่ยื่นส่วนหนวดออกจำกพื้นทรำย สัตว์หน้ำดินในเขต

                  ตอนกลำงของหำดทรำยส่วนใหญ่เป็นพวกที่กรองอำหำรจำกน ้ำเช่นพวกหอยชนิดต่ำง ๆ ไส้เดือนทะเลที่พบ

                  บริเวณนี้เป็นพวกที่กินอินทรียสำรจำกพื้นดินหรือกรองอำหำรจำกน ้ำ ไส้เดือนทะเลบำงกลุ่มจะเคลื่อนที่ใน
                  ชั้นดินเพื่อล่ำเหยื่อ

                           (3) เขตตอนล่ำงสุดของหำดทรำย

                           เขตตอนล่ำงสุดของหำดทรำยเป็นบริเวณที่น ้ำท่วมถึงตลอดสัตว์หน้ำดินที่พบได้ในเขตนี้เป็นกลุ่ม
                  ไส้เดือนทะเลที่ฝังตัวอยู่ในทรำยทั้งที่สร้ำงท่อหรือขุดรูอยู่ หอยหลำยชนิดรวมทั้งกุ้งและปูด้วย นอกจำกนี้ยัง

                  พบพวกดำวทะเล อีแปะทะเล (sand dollars) และกลุ่มเม่นหัวใจ (heart urchins)


                         2.3.3 แหล่งอาศัยและการปรับตัวของสัตว์หน้าดินในระบบนิเวศหาดเลน

                           ระบบนิเวศหำดเลนพบได้ในบริเวณอ่ำวที่มีคลื่นลมสงบท ำให้มีกำรสะสมดินตะกอนละเอียดหรือ

                  ดินเลน ซึ่งต่ำงจำกระบบนิเวศหำดทรำย นอกจำกนี้หำดเลนส่วนใหญ่จะมีควำมลำดชันน้อยซึ่งต่ำงจำกหำด
                  ทรำย ดังนั้นในช่วงเวลำน ้ำขึ้นจะท่วมทั้งบริเวณและในช่วงน ้ำลงก็จะโผล่พ้นน ้ำ กำรท่วมถึงของน ้ำทะเลและ

                  ลักษณะของดินเป็นปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ส ำคัญในบริเวณนี้ สัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่บริเวณหำดเลนก็ต้อง

                  ปรับตัวต่อสภำวะอุณหภูมิสูงและกำรสูญเสียน ้ำออกจำกตัวเช่นเดียวกับที่พบได้ในสัตว์ที่อยู่บริเวณหำดทรำย
                  สัตว์หน้ำดินที่พบส่วนใหญ่จะเป็นพวกที่ฝังตัวอยู่ในดินหรือขุดรูอยู่ในดิน เช่น ไส้เดือนทะเล หอยแครง หอย

                  หลอด ปูก้ำมดำบและปูก้ำมหัก เป็นต้น สัตว์หน้ำดินในบริเวณนี้มักเป็นกลุ่มที่กินอินทรียสำรในดินเป็นหลัก

                  เนื่องจำกมีปริมำณอินทรีสำรสูงในดินเลน บำงชนิดก็หำกินเป็นผู้ล่ำ หอยแครงและหอยสองฝำขนำดเล็ก
                  หลำยชนิดเช่นหอยกำบ Tellina sp. พบมำกบริเวณหำดเลนโดยฝังตัวตำมพื้นและกินอำหำรพวกอินทรีย

                  สำรและสำหร่ำยขนำดเล็กในดินข ณ ะน ้ำลงและกรองกินแพลงก์ตอนพืชขณะน ้ำขึ้น ป ูก้ำมหัก

                  Macrophthalmus เป็นปูที่ชอบอยู่ในดินโคลนเหลว ปูก้ำมหักกินอินทรียสำร แพลงก์ตอนพืชและสัตว์หน้ำ
                  ดินขนำดเล็กเป็นอำหำร (Jones, 1984)
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83