Page 75 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 75

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               57



                           (1) เขตเหนือระดับน ้ำขึ้นสูงสุด (Upper intertidal/Supralittoral zone)

                           เขตเหนือระดับน ้ำขึ้นสูงสุดสุดบนหำดหินเป็นบริเวณที่มีสภำพกึ่งบกและทะเล บริเวณนี้จะได้รับ
                  อิทธิพลของน ้ำทะเลในยำมที่น ้ำขึ้นสูงสุด หรือได้รับจำกกำรสำดกระเซ็นของคลื่นเท่ำนั้น สัตว์หน้ำดินที่พบ

                  บริเวณนี้ได้แก่พวกหอยขม หอยหมวกเจ๊ก พวกแมลงสำบทะเล (isopod) เพรียงหิน ปูใบ้และปูหิน  เป็นต้น

                  สัตว์หน้ำดินเหล่ำนี้ส่วนใหญ่มีเปลือกหรือกระดองที่ห่อหุ้มตัวท ำให้ป้องกันตัวเองจำกอุณหภูมิสูงและสภำวะ
                  กำรสูญเสียน ้ำจำกตัว นอกจำกนี้มักมีกำรเคลื่อนที่เพื่อกินอำหำรหรือหลบควำมร้อนตำมซอกหินและบริเวณ

                  เขตน ้ำขึ้นน ้ำลง

                           (2) เขตน ้ำขึ้นน ้ำลง (Middle intertidal/ Littoral zone)
                           เขตน ้ำขึ้นน ้ำลงเป็นบริเวณกว้ำงที่สุดบนหำดหินที่เรำพบสัตว์หน้ำดินได้หลำกหลำยชนิด คลื่นลม

                  เป็นตัวกำรส ำคัญในกำรก ำหนดองค์ประกอบชนิดและกำรกระจำยของสัตว์หน้ำดินในเขตนี้ คลื่นลมที่ซัดสำด

                  บริเวณหำดหินไม่เพียงแต่มีแรงกระแทกบนตัวสัตว์หน้ำดิน แต่ยังท ำให้เกำะหรืออยู่อำศัยได้ยำกบริเวณนี้
                  ดังนั้นกำรปรับตัวของสัตว์หน้ำดินต่อแรงกระแทกของคลื่นลมบนหำดหิน คือ กำรที่มีอวัยวะที่แข็งแรง

                  ส ำหรับยึดเกำะตัวเองให้แน่นบนพื้นหิน เช่นกลุ่มเพรียงหินและหอยนำงรมที่ยึดตัวเองกับหินด้วยหินปูน และ

                  หอยแมลงภู่มีเส้นใยที่ยึดตัวเองแน่นกับพื้น เป็นต้น กำรที่มีเปลือกหุ้มที่หนำเป็นกำรช่วยป้องกันตัวเองจำก
                  กำรกระแทกของคลื่นเช่นกลุ่มลิ่นทะเลที่มีเปลือกหนำห่อหุ้มตัวและเกำะติดหินอย่ำงแน่นหนำด้วยเท้ำขนำด

                  ใหญ่ สัตว์หน้ำดินบำงชนิดจะปรับตัวให้อยู่ได้บนหินโดยกำรหลบอยู่ตำมรอยแยกบนหินหรือเจำะไชเข้ำไปอยู่

                  ในหินเช่นพวกเม่นทะเล สัตว์หน้ำดินหลำยชนิดจะอยู่ด้วยกันเป็นกลุ่มซึ่งกันและกันแน่นเช่นเพรียงคอห่ำน
                  หรือพวกหอยขมที่อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม มีกำรปล่อยเมือกออกมำเพื่อยึดตัวเองและเป็นกำรให้ควำมชุ่มชื้นเพื่อ

                  ลดปัญหำสภำวะอุณหภูมิสูงด้วย

                           ในขณะที่น ้ำลงสัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่บริเวณนี้ต้องโผล่พ้นน ้ำและเผชิญกับปัญหำอุณหภูมิสูงและ
                  กำรสูญเสียน ้ำจำกตัว ดังนั้นสัตว์หน้ำดินที่พบมีกำรปรับตัวด้ำนรูปร่ำงและขนำดตัว เมื่อขนำดตัวเพิ่มขึ้นจะ

                  ท ำให้พื้นผิวของล ำตัวเมื่อเทียบกับปริมำตรของตัวสัตว์หน้ำดินลดลง ซึ่งช่วยลดอัตรำกำรสูญเสียน ้ำออกจำก

                  ตัว นอกจำกนี้สัตว์หน้ำดินที่มีรูปร่ำงเรียวยำวมักจะสูญเสียน ้ำได้เร็วกว่ำเมื่อมีกำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเมื่อ
                  เทียบกับสัตว์หน้ำดินที่มีรูปร่ำงเป็นทรงกลม ตัวอย่ำงเช่นดอกไม้ทะเลจะหดตัวแน่นคล้ำยลูกบอลในขณะที่น ้ำ

                  ลง เมื่อน ้ำขึ้นท่วมตัวดอกไม้ทะเลอีกครั้งหนึ่งดอกไม้ทะเลจะยืดตัวเป็นทรงกระบอกพร้อมยื่นส่วนหนวด

                  ออกมำหำกินในมวลน ้ำ นอกจำกนี้สัตว์หน้ำดินในบริเวณนี้สำมำรถควบคุมให้อุณหภูมิในตัวเย็นลงได้เมื่อ
                  เทียบกับอุณหภูมิที่สูงขึ้นภำยนอกด้วยวิธี evaporative cooling เช่นเดียวกับปูก้ำมดำบในป่ำชำยเลน เรำ

                  พบว่ำสัตว์หน้ำดินในบริเวณนี้หลำยชนิดจะเคลื่อนที่เพื่อหำกิน หรือเพื่อลดปัญหำกำรสูญเสียน ้ำออกจำกตัว

                  เนื่องจำกอุณหภูมิสูง
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80