Page 77 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 77

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               59



                  และกำรหำยใจเช่นเดียวกับสัตว์หน้ำดินที่อยู่บริเวณหำดหิน สัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่บนหำดทรำยก็ต้อง

                  ปรับตัวต่อสภำวะอุณหภูมิสูงและกำรสูญเสียน ้ำจำกตัวเช่นกัน ในช่วงเวลำน ้ำลงดินทรำยที่ผิวหน้ำหำดทรำย
                  จะแห้งเนื่องจำกน ้ำที่ขังอยู่ระหว่ำงเม็ดทรำยจะลดลง ดังนั้นสัตว์หน้ำดินในหำดทรำยจะรักษำตัวเองให้อยู่

                  ภำยในรูที่ลึกในชั้นทรำยที่มีควำมชื้นอยู่ สัตว์หน้ำดินที่อยู่ในหำดทรำยหลำยชนิดอำจขุดรูอยู่ในชั้นดินทรำยที่

                  ลึกลงไปถึง 25-50 เซนติเมตร เมื่อเวลำน ้ำขึ้นพบว่ำสัตว์หน้ำดินเหล่ำนี้จะเคลื่อนที่มำอยู่บนผิวหน้ำดินหรือ
                  ยื่นส่วนอวัยวะที่ใช้ในกำรกินอำหำรหรือกำรหำยใจออกมำในมวลน ้ำ กำรกระจำยตำมแนวดิ่งของสัตว์หน้ำ

                  ดินบริเวณหำดทรำยก็มีเช่นเดียวกันกับที่พบในระบบนิเวศหำดหิน เพียงแต่ไม่มีควำมชัดเจนเท่ำเนื่องจำก

                  ส่วนใหญ่ฝังตัวอยู่ในดิน กำรแบ่งหำดทรำยตำมระดับน ้ำขึ้นน ้ำลงแบ่งเป็น 3 เขต ดังภำพที่ 2.16




































                  ภาพที่ 2.16  กำรกระจำยตำมแนวดิ่งของสัตว์หน้ำดินบริเวณหำดทรำย

                             ที่มำ : Michel et al. (2017)


                           (1) เขตตอนบนของหำดทรำย

                           เขตตอนบนของหำดเป็นบริเวณตอนบนสุดของหำดเหนือระดับน ้ำทะเลขึ้นสูงสุดและยังเป็น

                  บริเวณที่รับอิทธิพลจำกคลื่นซัดสำดหรือมีน ้ำท่วมได้ในช่วงที่เกิดพำยุ ทรำยบริเวณนี้มีลักษณะเป็นทรำยเม็ด
                  ใหญ่และหยำบ ลักษณะทรำยจะเป็นทรำยแห้งแต่ลึกลงไปจึงจะพบชั้นทรำยที่ชั้น สัตว์หน้ำดินกลุ่มเด่น

                  บริเวณนี้เป็นพวกปูลม (ghost crabs) ปูทหำร (soldier crabs) แมลงสำบทะเล (isopods) และแอมพิพอด

                  (amphipods) ปูลมและปูทหำรจะเคลื่อนที่บนพื้นทรำยอย่ำงรวดเร็ว ในช่วงที่น ้ำลงปูจะวิ่งลงรูและลด
                  กิจกรรมต่ำง ๆ เป็นกำรประหยัดพลังงำน ปูทหำรจะมีแผ่นเป็นแผ่นเนื้อเยื่อบำง ๆ (membranous disk)
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82