Page 73 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 73

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               55



                           เขตน ้ำขึ้นน ้ำลงเป็นบริเวณตอนบนสุดของทะเลที่ติดต่อกับบนบก เป็นบริเวณที่อยู่ระหว่ำงน ้ำขึ้น

                  สูงสุดและน ้ำลงต ่ำสุด ถ้ำไปยืนอยู่บริเวณหำดทรำยเรำมักจะพบว่ำต้นมะพร้ำวและต้นสนหรือไม้ประดับที่
                  นิยมปลูกกันเรียงรำยอยู่ สำมำรถบ่งบอกได้ถึงตอนบนสุดของหำดในเขตน ้ำขึ้นน ้ำลง บริเวณตอนบนนี้อำจ

                  ได้รับน ้ำทะเลจำกกำรซัดสำดของคลื่นได้ ดังนั้นเรำจะพบว่ำบริเวณนี้ก็เป็นแหล่งอำศัยของสัตว์หน้ำดินเป็น

                  กำรกระจำยตำมแนวดิ่งตรำบใดที่ยังรับอิทธิพลจำกละอองคลื่นในบริเวณนี้ จำกแนวบนสุดของหำดจนถึง
                  แนวที่น ้ำทะเลลงต ่ำสุดเป็นบริเวณเขตน ้ำขึ้นน ้ำลงซึ่งจะประกอบด้วยระบบนิเวศทำงทะเล ขึ้นกับว่ำลักษณะ

                  พื้นท้องทะเลเป็นพื้นหินหรือเป็นกรวดทรำยหยำบเป็นลักษณะพื้นท้องทะเลแข็ง (hard substrates) หรือ

                  พื้นท้องทะเลเป็นลักษณะดินทรำยหรือดินเลนที่อ่อนนุ่ม (soft substrates) ระบบนิเวศหำดหิน (rocky
                  shores) เป็นตัวแทนของพื้นท้องทะเลที่เป็นพื้นแข็ง ส่วนระบบนิเวศหำดทรำย (sandy beaches) และ

                  ระบบนิเวศหำดเลน (muddy shores/mudflats) เป็นตัวแทนของพื้นท้องทะเลที่เป็นพื้นอ่อน โดยรวม

                  พบว่ำปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อกำรด ำรงชีวิตของสัตว์หน้ำดินในเขตน ้ำขึ้นน ้ำลง ได้แก่กำรขึ้นลงของน ้ำ
                  ทะเลที่ท ำให้บริเวณนี้สัมผัสกับอำกำศขณะน ้ำลงและมีน ้ำท่วมทั้งบริเวณในขณะที่น ้ำขึ้น สัตว์หน้ำดินใน

                  บริเวณนี้ต้องเผชิญกับกำรเปลี่ยนแปลงสภำพแวดล้อมในรอบวันหรือในรอบ 24 ชั่วโมง โดยเฉพำะอุณหภูมิ

                  ควำมเค็ม กำรสูญเสียน ้ำจำกตัวและปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำ กำรขึ้นลงของน ้ำทะเลยังเป็นตัวก ำหนด
                  ช่วงเวลำในกำรหำอำหำรและกินอำหำร ตลอดจนกำรหำยใจของสัตว์หน้ำดินในเขตน ้ำขึ้นน ้ำลงด้วย คลื่นลม

                  และกระแสน ้ำก็มีควำมส ำคัญในกำรกระจำยและกำรปรับตัวของสัตว์หน้ำดินในบริเวณเขตน ้ำขึ้นน ้ำลง ซึ่ง

                  อิทธิพลของคลื่นลมและกระแสน ้ำจะต่ำงกันตำมระบบนิเวศที่ศึกษำ
                           กำรกระจำยของสัตว์หน้ำดินในเขตน ้ำขึ้นน ้ำลงมีลักษณะเด่นที่เห็นได้ชัดเจนคือกำรกระจำยใน

                  แนวดิ่ง (vertical zonation) ซึ่งกระจำยตำมอิทธิพลของปัจจัยทำงกำยภำพที่ส ำคัญคือคลื่นลมและ

                  กระแสน ้ำ กำรท่วมถึงของน ้ำขึ้นน ้ำลง ควำมเค็ม อุณหภูมิและสภำวะกำรสูญเสียน ้ำออกจำกตัว ปัจจัย
                  เหล่ำนี้เป็นตัวก ำหนดขอบเขตกำรกระจำยสูงสุดบนหำด ส่วนปัจจัยที่ส ำคัญที่ก ำหนดกำรกระจำยในตอนล่ำง

                  ของหำดที่ต่อกับทะเลคือปัจจัยทำงชีวภำพ คือผู้ล่ำและกำรแก่งแย่งพื้นที่อยู่อำศัยในกลุ่มสัตว์หน้ำดิน กำร

                  กระจำยของสัตว์หน้ำดินในแนวดิ่งที่เห็นได้ชัดเจนคือกำรกระจำยของสัตว์หน้ำดินในระบบนิเวศหำดหิน ส่วน
                  กำรกระจำยในแนวดิ่งในระบบนิเวศหำดทรำยและหำดเลนจะเห็นได้ไม่ชัดเจนเท่ำกับกำรกระจำยของสัตว์

                  หน้ำดินในระบบนิเวศหำดหิน
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78