Page 71 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 71

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               53



                  โผล่พ้นน ้ำในขณะที่น ้ำลงและระยะที่จมอยู่ใต้น ้ำในขณะที่น ้ำขึ้นท ำให้สัตว์หน้ำดินเหล่ำนี้ต้องปรับเรื่องกำร

                  หำยใจให้สำมำรถหำยใจได้โดยใช้ออกซิเจนจำกอำกำศหรือใช้ออกซิเจนที่ละลำยในน ้ำ ตลอดจนสำมำรถ
                  หำยใจได้โดยไม่ใช้ออกซิเจนในบำงช่วง กำรอยู่บริเวณหน้ำดินในยำมน ้ำลงและตำมรำกของไม้ในป่ำชำยเลน

                  จะเป็นปัญหำของปูป่ำชำยเลนซึ่งหำยใจโดยใช้เหงือก Jones(1984) แบ่งปูในป่ำชำยเลนตำมลักษณะกำร

                  หำยใจ 2 ลักษณะคือ
                           (1) กลุ่มปู pumpers เป็นกลุ่มพวกปูแสมและปูก้ำมหักจะมีกำรปรับตัวโดยมีขนำดของเหงือกลง

                  และซี่เหงือกแข็งแรงไม่แฟบหรือเหี่ยวเมื่อโผล่พ้นน ้ำ ปูกลุ่มนี้จะมีกำรปั๊มน ้ำให้ไหลเวียนช่องเหงือกอยู่ตลอด

                  เมื่อสัมผัสอำกำศจะเกิดกระแสน ้ำผ่ำนเข้ำช่องเหงือก ผ่ำนเข้ำไปในช่องอกและกลับสู่ช่องเหงือกอีกทีหนึ่งเพื่อ
                  แลกเปลี่ยนก๊ำซ ปูกลุ่มนี้จะดึงน ้ำเข้ำมำแทนที่ในตัวจำกน ้ำที่ปริมำณน้อยเป็นแผ่นฟิล์มได้

                           (2) กลุ่มปู non-pumpers เป็นกลุ่มปูก้ำมดำบและปูแสมบำงกลุ่ม ปูเหล่ำนี้จะมีเหงือกที่มีขนำด

                  เล็กลงและมีควำมแข็งแรงเพื่อคงรูปไว้ตลอด ในช่องเหงือกของปูกลุ่มนี้จะแบ่งเป็นส่วนบนซึ่งมีเส้นเลือดมำ
                  หล่อเลี้ยงเป็นจ ำนวนมำกเปรียบเหมือนช่องปอดและส่วนล่ำงจะเป็นช่องเหงือกของปูตำมปกติ เมื่อสัมผัส

                  อำกำศปูเหล่ำนี้จะพยำยำมรักษำน ้ำไว้ในช่องเหงือกได้ระยะเวลำหนึ่ง ปูจะพ่นอำกำศลงไปในน ้ำเพื่อกำร

                  แลกเปลี่ยนก๊ำซ ปูกลุ่มนี้จะดึงน ้ำเข้ำตัวเพื่อแทนที่จำกช่องเล็ก ๆ ที่อยู่ระหว่ำงขำเดิน ซึ่งจะเห็นได้จำกปู
                  ก้ำมดำบที่วิ่งลงรูไปแช่ตัวในแอ่งน ้ำภำยในรูก็จะเป็นกำรดึงน ้ำเข้ำไปทดแทนด้วยเพื่อกำรหำยใจ กำรที่สัตว์

                  หน้ำดินโดยเฉพำะพวกกุ้ง กุ้งดีดขันและปูสำมำรถทนได้มำกต่อสำรประกอบซัลไฟด์ในดินเนื่องจำกมีเปลือก

                  หุ้มเป็นสำรประกอบพวกไคติน (chitin)
                           ปลำตีนเป็นสัตว์หน้ำดินอีกชนิดหนึ่งที่พบได้ทั่วไปบริเวณหำดเลนและป่ำชำยเลน ปลำตีนไม่

                  เพียงแต่หำยใจได้เพื่ออยู่บนบกโดยดึงเอำออกซิเจนผ่ำนทำงผิวหนังและช่องเหงือก เวลำที่ปลำตีนว่ำยน ้ำอยู่

                  ในน ้ำหรือในยำมที่น ้ำขึ้นจะว่ำยน ้ำได้เหมือนปลำทั่วไปและหำยใจโดยใช้เหงือก
                           (6) แหล่งอำหำรและกำรกินอำหำรของสัตว์หน้ำดินป่ำชำยเลน

                           ป่ำชำยเลนเป็นแหล่งอำหำรที่ส ำคัญส ำหรับสัตว์หน้ำดินในรูปสำรอำหำรและปริมำณอินทรียสำร

                  ในรูปของผลผลิตและอัตรำกำรย่อยสลำยซำกพืชซำกสัตว์ในป่ำชำยเลน รวมทั้งกลุ่มแพลงก์ตอนและสัตว์
                  หน้ำดินด้วยกันเอง ควำมอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอำหำรที่มีหลำกหลำยนี้ท ำให้เรำสำมำรถพบสัตว์หน้ำดินอยู่

                  รวมเป็นกลุ่มทั้งที่เป็นชนิดเดียวกันหรือต่ำงชนิดกัน โดยมีกำรแบ่งสรรอำหำรได้อย่ำงลงตัวไม่แก่งแย่งกัน

                  ดังเช่นกำรกระจำยของปูก้ำมดำบหลำยชนิดที่อยู่รวมกัน ถึงแม้ว่ำจะกินอินทรียสำรในดินเหมือนกันแต่
                  รยำงค์ส่วนปำกของปูก้ำมดำบแต่ละชนิดจะคัดเลือกเฉพำะอินทรียสำรบนขนำดดินตะกอนที่เหมำะสม กลุ่ม

                  หอยป่ำชำยเลนที่มีกำรกระจำยตัวตำมแนวดิ่งจะพบอยู่รวมกันตั้งแต่บริเวณเรือนยอดพุ่มไม้ ตำมล ำต้นและ

                  รำกไม้จนถึงบริเวณพื้นดินและแอ่งน ้ำขังตำมพื้นดิน หอยป่ำชำยเลนเหล่ำนี้จะมีกำรกินอำหำรที่หลำกหลำย
                  โดยครูดกินสำหร่ำยขนำดเล็กตำมต้นไม้ กินพวกสำหร่ำยหน้ำดินและซำกอินทรียสำรในดินเป็นอำหำร บำง

                  ชนิดจะกรองกินอำหำรจำกน ้ำ ในขณะที่บำงชนิดจะด ำรงชีพเป็นผู้ล่ำ เป็นต้น กำรที่มีแหล่งอำหำรที่อุดม

                  สมบูรณ์และมีหลำกหลำยชนิดท ำให้สัตว์หน้ำดินในป่ำชำยเลนเลือกกินได้ จึงพบว่ำสัตว์หน้ำดินในป่ำชำยเลน
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76