Page 67 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 67

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               49









































                  ภาพที่ 2.11  กำรกระจำยตำมแนวรำบของปูป่ำชำยเลนปำกแม่น ้ำท่ำจีน จังหวัดสมุทรสำคร
                             ที่มำ : จ ำลอง โตอ่อน (2542)



                           สัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่ในป่ำชำยเลนจ ำเป็นต้องมีกำรปรับตัวต่อกำรเปลี่ยนแปลงควำมเค็ม สภำวะ
                  กำรสูญเสียน ้ำออกจำกตัว อุณหภูมิสูง ปริมำณออกซิเจนที่ค่อนข้ำงต ่ำ ตลอดจนกำรสัมผัสกับอำกำศในขณะที่

                  น ้ำลง

                           (1) กำรท่วมถึงของน ้ำทะเล (tidal inundation) และช่วงเวลำน ้ำขึ้นน ้ำลง
                           กำรท่วมถึงของน ้ำทะเลจะมีควำมสัมพันธ์กับควำมลำดชันของหำด  (slope) กำรท่วมถึงของน ้ำ

                  ทะเลและช่วงเวลำน ้ำขึ้นน ้ำลงจะควบคุมควำมลึกของน ้ำในดินตลอดจนควำมเค็มในดินและในน ้ำ ซึ่งจะส่งผลถึง

                  ช่วงกำรหำยใจและช่วงเวลำกำรกินอำหำรของสัตว์หน้ำดินด้วย ช่วงเวลำน ้ำขึ้นน ้ำลงในตอนกลำงวันและ
                  กลำงคืนจะมีผลอย่ำงมำกต่อสัตว์หน้ำดิน โดยเฉพำะน ้ำลงในช่วงเวลำกลำงวันจะท ำให้สัตว์หน้ำดินเผชิญสภำวะ

                  อุณหภูมิสูงและกำรสูญเสียน ้ำจำกตัว ในบริเวณที่เป็นหำดเลนที่เป็นที่โล่งไม่มีพันธุ์ไม้ป่ำชำยเลนขึ้นอยู่หรือมี

                  เฉพำะกล้ำไม้ขึ้นกระจำยทั่วไปจะเป็นบริเวณที่มีควำมผันแปรของอุณหภูมิและควำมเค็มค่อนข้ำงมำก ซึ่งจะต่ำง
                  กับบริเวณป่ำชำยเลนที่มีพันธุ์ไม้ขึ้นหนำแน่นจะมีกำรผันแปรของอุณหภูมิและควำมเค็มน้อยกว่ำ ดังนั้นบริเวณ

                  หำดเลนมักเป็นปูก้ำมหัก (Macrophthlmus spp.) ที่มีขนำดใหญ่และกระดองหนำ ปูลมและปูก้ำมดำบ เป็น

                  ต้น บริเวณหำดเลนมีน ้ำท่วมขังตลอดเวลำเรำพบพวกสัตว์หน้ำดินที่ฝังตัวในดินเพื่อลดปัญหำกำรสูญเสียน ้ำออก
                  จำกตัวเช่นไส้เดือนทะเลและหอยแครง พบปลำตีนหำกินอยู่ตำมพื้นเลน ดังภำพที่ 2.12 กำรท่วมถึงของน ้ำ
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72