Page 70 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 70

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               52



                  ในบริเวณผิวล ำตัวเป็นกลไกขั้นแรกในกำรปรับตัวต่อควำมเค็มที่เปลี่ยนแปลงไป กระดองหรือเปลือกหุ้มที่หนำ

                  ของปูก้ำมดำบและปูแสมจะช่วยลดกำรสัมผัสของตัวปูเองกับน ้ำทะเลภำยนอก รูของปูก้ำมดำบจะช่วยป้องกัน
                  ตัวปูเองจำกสภำพภำยนอกที่มีควำมเค็มหรืออุณหภูมิสูงเกินไปโดยกำรวิ่งลงรู ในรูปูจะมีน ้ำขังเป็นแอ่งซึ่งจะมี

                  ควำมเค็มสูง ดังนั้นเรำจะเห็นว่ำในขณะน ้ำลงปูก้ำมดำบจะขึ้นมำหำกินบริเวณรอบปำกรู หลังจำกขึ้นมำหำกิน

                  พักหนึ่งก็จะวิ่งลงรูเพื่อแช่น ้ำในแอ่งน ้ำที่ขังอยู่ นอกจำกปูก้ำมดำบจะได้ควำมชื้นแล้วยังเป็นกำรรักษำระดับ
                  เกลือแร่ในตัวให้คงที่อีกด้วย ในขณะที่น ้ำขึ้นปูก้ำมดำบจะลงไปอยู่ในรูและใช้ก้อนดินทรำยปิดปำกรูจนแน่น

                  ไม่ให้น ้ำเข้ำเพื่อรอเวลำที่น ้ำลงอีกครั้งหนึ่งเพื่อออกหำกิน

                           กุ้งทะเลโดยเฉพำะกุ้งแชบ๊วย กุ้งกุลำด ำ กุ้งตะกำดและกุ้งทะเลซึ่งมีควำมส ำคัญทำงเศรษฐกิจเป็น
                  กลุ่มที่มีกำรปรับตัวต่อควำมเค็มที่เปลี่ยนแปลงได้ดี กลุ่มกุ้งทะเลเหล่ำนี้จะมีวงจรชีวิตที่อำศัยพึ่งพำป่ำชำยเลน

                  เป็นแหล่งที่อยู่อำศัย แหล่งอำหำรและแหล่งอนุบำลลูกกุ้ง กุ้งทะเลที่เจริญวัยจะอำศัยอยู่บริเวณชำยฝั่ง กำร

                  ผสมพันธุ์จะเกิดขึ้นในทะเลบริเวณชำยฝั่งที่มีควำมเค็มสูง ส่วนตัวอ่อนของกุ้งจะพัฒนำเป็นระยะต่ำง ๆ จนถึง
                  ระยะไมซีส (mysis) ซึ่งมีรูปร่ำงคล้ำยตัวแก่แล้วและเปลี่ยนรูปร่ำงเป็นลูกกุ้งวัยรุ่น (post larvae) ซึ่งเป็นระยะ

                  ที่ชอบอยู่ในน ้ำควำมเค็มต ่ำ ลูกกุ้งวัยรุ่นสำมำรถว่ำยน ้ำได้ดีจึงมีกำรอพยพเข้ำมำบริเวณป่ำชำยเลนเพื่อเข้ำมำ

                  อำศัยและหำกินตลอดจนหลบซ่อนศัตรู ป่ำชำยเลนจึงเป็นแหล่งอนุบำลของกุ้งทะเล เมื่อเจริญวัยกุ้งแชบ๊วยและ
                  กุ้งกุลำด ำจะอพยพออกสู่ทะเลเพื่อวำงไข่ในแหล่งน ้ำที่เป็นที่เกิด

                           (4)  สภำวะอุณหภูมิสูงและกำรสูญเสียน ้ำจำกตัว

                           ปูก้ำมดำบจะออกหำกินในยำมที่น ้ำลงซึ่งจะท ำให้ตัวปูสัมผัสกับสภำวะอุณหภูมิสูงและกำรสูญเสียน ้ำ
                  จำกตัว กระดองที่ห่อหุ้มตัวจะช่วยท ำหน้ำที่ป้องกันตัวเองจำกสภำวะอุณหภูมิสูงและกำรสูญเสียน ้ำจำกตัวได้

                  ด้วยลักษณะควำมหนำและบำงของกระดอง นอกจำกนี้สีบนกระดองซึ่งมีสีสันที่สวยงำมในปูก้ำมดำบเพศผู้นั้น

                  ยังสำมำรถเปลี่ยนสีให้เข้มหรือสีจำงตำมสภำพอุณหภูมิภำยนอกได้อีกด้วย เมื่อหลบลงรูเพื่อแช่ตัวในแอ่งน ้ำ
                  นอกจำกจะได้ควำมชื้นแล้วปูก้ำมดำบยังสำมำรถรักษำระดับควำมเค็มในตัวได้และสำมำรถหำยใจโดยดึง

                  ออกซิเจนจำกแอ่งน ้ำได้อีกด้วย นอกจำกนี้ในช่วงน ้ำตำยซึ่งจะมีช่วงเวลำที่น ้ำลงเป็นเวลำนำนปูก้ำมดำบจะต้อง

                  พยำยำมรักษำอุณหภูมิในร่ำงกำยให้ต ่ำกว่ำอุณหภูมิภำยนอก (evaporative cooling) เพื่อต่อสู้กับสภำวะ
                  อุณหภูมิสูง ควำมชื้นและร่มไม้ช่วยป้องกันตัวปูจำกแสงอำทิตย์และสภำวะอุณหภูมิสูงมีควำมส ำคัญส ำหรับกลุ่ม

                  หอยขี้นกซึ่งหำยใจโดยใช้ออกซิเจนในอำกำศและพวกหอยขี้กำหรือหอยปำกกระจำดที่อยู่ตำมพื้นมักรวมตัวเป็น

                  กลุ่มตำมรำกไม้และแอ่งน ้ำเพื่อรักษำควำมชื้นในตัว
                           (5) ปริมำณออกซิเจนและปริมำณซัลไฟด์ในดิน

                           ปริมำณออกซิเจนในป่ำชำยเลนมักจะต ่ำเนื่องจำกเกิดกระบวนกำรย่อยสลำยอินทรียสำรโดยจุล

                  ชีพเกิดขึ้นตลอดเวลำ เรำจะพบว่ำชั้นดินด้ำนบนมักมีซำกพืช รำกไม้ ใบไม้ที่ร่วงหล่น และผ่ำนกำรย่อยสลำย
                  แล้วตกทับถมอยู่ เมื่อขุดลึกลงไปในชั้นดินประมำณ 10-15 เซนติเมตร ก็จะพบชั้นดินสีด ำของสำรประกอบ

                  ซัลไฟด์ บำงครั้งจะมีกลิ่นเหม็นของก๊ำซไข่เน่ำออกมำด้วย สัตว์หน้ำดินในป่ำชำยเลนจะมีกำรปรับตัวเรื่อง

                  กำรหำยใจโดยหำยใจที่มีปริมำณออกซิเจนต ่ำ นอกจำกนี้กำรที่สัตว์หน้ำดินในป่ำชำยเลนจะต้องผ่ำนระยะที่
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75