Page 68 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 68

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               50



                  ทะเลและช่วงเวลำน ้ำขึ้นน ้ำลงยังมีควำมส ำคัญต่อกำรสืบพันธุ์ของสัตว์หน้ำดินในป่ำชำยเลน สัตว์หน้ำดินมัก

                  ปล่อยเชื้อสืบพันธ์ลงในน ้ำทะเลเนื่องจำกมีอุณหภูมิและควำมเค็มที่เหมำะสม ช่วยกระตุ้นให้มีกำรปล่อยเชื้อ
                  สืบพันธุ์และกำรผสมพันธุ์ในมวลน ้ำอีกด้วย มวลของน ้ำทะเลช่วยกำรกระจำยตัวอ่อนของสัตว์หน้ำดินไปบริเวณ

                  ต่ำง ๆ ในป่ำชำยเลนด้วย








































                  ภาพที่ 2.12  กลุ่มสัตว์หน้ำดินที่พบได้บริเวณหำดเลนบริเวณด้ำนนอกของป่ำชำยเลน
                             (ก) ปูก้ำมหัก Macropthalmus teschi (ข) ปูก้ำมดำบ Uca paradussumieri

                             (ค) ไส้เดือนทะเล Namalycastis sp. (ง) หอยแครง Anadara granosa


                           (2) ลักษณะควำมร่วนซุยและชนิดของดินตะกอน

                           ลักษณะควำมร่วนซุยและชนิดของดินตะกอนที่เป็นดินเลนหรือดินทรำยนั้นจะควบคุมปริมำณ
                  ออกซิเจนในดิน ระดับน ้ำใต้ดินและปริมำณอินทรียสำรที่อยู่ในดิน ดินละเอียดเช่นดินเลนจะมีปริมำณอินทรีย

                  สำรสูงกว่ำดินทรำยที่มีขนำดตะกอนดินใหญ่กว่ำ ปูลมและปูก้ำมดำบจะมีกำรกินอำหำรแบบที่เลือกสำรอินทรีย์

                  จำกดินตะกอน รยำงค์ส่วนปำกของปูจะมีลักษณะเฉพำะเพื่อใช้เลือกและแยกอำหำรพวกอินทรียสำรและจุลชีพ
                  ออกจำกดินตะกอน นอกจำกนี้ลักษณะควำมร่วนซุยและชนิดของดินตะกอนยังมีควำมส ำคัญในกำรขุดฝังตัว

                  ของสัตว์หน้ำดินเพื่ออยู่อำศัยหรือหลบหลีกศัตรู ดังภำพที่ 2.13
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73