Page 69 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 69

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               51































                  ภาพที่ 2.13  กำรขุดรูของปูก้ำมดำบในดินตะกอนในป่ำชำยเลน



                           (3)  ควำมเค็ม
                           ควำมเค็มในป่ำชำยเลนทั้งควำมเค็มในมวลน ้ำและควำมเค็มในดินมีควำมส ำคัญในกำรก ำหนด

                  ขอบเขตกำรกระจำยของสัตว์หน้ำดิน เช่น ปูก้ำมดำบ กุ้งทะเลและปูแสม เป็นต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับควำมทนทำน

                  ของสัตว์แต่ละชนิดต่อกำรเปลี่ยนแปลงควำมเค็ม Lockwood (1976) ได้สรุปกระบวนกำรควบคุมน ้ำและเกลือ
                  แร่ในสัตว์หน้ำดินเมื่อมีกำรเปลี่ยนแปลงควำมเค็มในสภำพแวดล้อมดังต่อไปนี้

                           1.  ลดกำรสัมผัสและดูดซึมน ้ำและเกลือแร่ผ่ำนบริเวณผิวล ำตัว

                           2.  ควบคุมปริมำณเกลือแร่ภำยในตัวโดยกำรดูดซึมปริมำณเกลือแร่ที่ขำด และกำรก ำจัดปริมำณ
                  เกลือแร่ส่วนที่เกินออกมำภำยนอก

                           3.  ควบคุมปริมำณน ้ำภำยในตัว

                           4.  กำรเก็บกักหรือสงวนเกลือแร่โดยกระบวนกำรกรองของอวัยวะขับถ่ำย เช่น ไตและอวัยวะที่ใช้ใน
                  กำรกรองน ้ำและอำหำรเช่นเหงือก

                           5.  ควบคุมควำมเข้มข้นของน ้ำและเกลือแร่ในระดับเซลล์ ซึ่งต้องอำศัยท ำงำนของกลุ่มกรดอะมิโน

                  (amino acids) และอินทรียสำรภำยในตัวสัตว์
                           ปูก้ำมดำบและปูแสมจะมีควำมสำมำรถในกำรควบคุมน ้ำและเกลือแร่ภำยในตัวได้ดี คือเมื่อควำม

                  เค็มของน ้ำในแหล่งอำศัยลดลงต ่ำเนื่องจำกมีปริมำณน ้ำจืดหรือปริมำณน ้ำฝนไหลลงมำมำก ปูพวกนี้จะปรับตัว

                  ให้ควำมเข้มข้นของของเหลวในตัวหรือภำยในเลือดให้สูงกว่ำปริมำณควำมเข้มข้นของสำรละลำยภำยนอก และ
                  ในทำงกลับกันเมื่อควำมเค็มของน ้ำภำยนอกสูงขึ้นเนื่องจำกมีน ้ำขึ้นหรือน ้ำทะเลหนุน ปูเหล่ำนี้ก็จะปรับควำม

                  เข้มข้นภำยในเลือดในตัวต ่ำกว่ำน ้ำภำยนอก นอกจำกนี้ปูยังสำมำรถลดกำรสัมผัสและกำรดูดซึมน ้ำและเกลือแร่
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74