Page 62 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 62

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               44



                           (5) ปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำ

                           ปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำในบริเวณปำกแม่น ้ำมีกำรเปลี่ยนแปลงมำกในช่วงเวลำ 24 ชั่วโมง
                  ขึ้นกับกำรแลกเปลี่ยนมวลน ้ำจืดและน ้ำทะเล ตลอดจนอัตรำกำรสังเครำะห์แสงของพืชและกำรหำยใจของสัตว์

                  สัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่ในบริเวณปำกแม่น ้ำสำมำรถทนได้ต่อปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำที่ค่อนข้ำงต ่ำ เมื่อมีกำร

                  เปลี่ยนแปลงปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำในมวลน ้ำภำยนอก สัตว์หน้ำดินเช่นหอยนำงรมจะปิดฝำสนิทและ
                  เปลี่ยนแปลงรูปแบบกำรหำยใจโดยใช้ออกซิเจน (aerobic respiration) ให้เป็นแบบไม่ใช้ออกซิเจน (aerobic

                  respiration) และเมื่อปริมำณออกซิเจนละลำยในมวลน ้ำกลับคืนสู่สภำพปกติ หอยนำงรมก็จะเปิดฝำและ

                  หำยใจแบบใช้ออกซิเจนในมวลน ้ำด้วยเหงือก (ภำพที่ 2.7) สัตว์หน้ำดินหลำยชนิดจะอำศัยอยู่ในท่อหรือรูของ
                  มัน กำรขยับตัวหรือยืดหดตัวไปมำจะช่วยท ำให้เกิดกำรหมุนเวียนของน ้ำที่มีปริมำณออกซิเจนส ำหรับกำร

                  หำยใจ ปูหลำยชนิดจะวิ่งลงรูเพื่อลดกำรสัมผัสกับปริมำณออกซิเจนต ่ำ และแช่ตัวและหำยใจโดยใช้แอ่งน ้ำที่อยู่

                  บริเวณก้นของรู



























                  ภาพที่ 2.7   กำรปรับตัวของสัตว์หน้ำดินต่อปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำที่เปลี่ยนแปลง

                             (ก) หอยนำงรมจะใช้กำรปิดเปิดฝำเพื่อปรับตัวต่อกำรเปลี่ยนแปลงปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำ
                             (ข) ไส้เดือนทะเล Arenicola อำศัยอยู่ในรูที่มีออกซิเจนพอส ำหรับกำรหำยใจ

                             ที่มำ :  (ก) https://marinehealthfoods.com/tag/male-fertility/

                                   (ข) http://www.einaudiceccherelli.It/lavori_studenti/itc/1b_2014/nuova_3.jpg
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67