Page 60 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 60

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               42



                           (2) ควำมเค็ม

                           ควำมเค็มของน ้ำในบริเวณปำกแม่น ้ำมีกำรเปลี่ยนแปลงตลอดเวลำ แปรผันตำมปริมำณน ้ำท่ำหรือน ้ำ
                  จืดและตำมน ้ำขึ้นน ้ำลง สัตว์หน้ำดินที่พบในบริเวณนี้เป็นกลุ่มที่สำมำรถทนได้ต่อกำรเปลี่ยนแปลงควำมเค็มใน

                  ช่องกว้ำงได้ (Euryhaline) ควำมเค็มของน ้ำจะเป็นตัวก ำหนดกำรกระจำยของสัตว์หน้ำดินในบริเวณนี้ บริเวณ

                  ปำกแม่น ้ำที่เปิดออกสู่ทะเลเรำจะพบสัตว์หน้ำดินที่เป็นสัตว์ทะเลที่อยู่ในน ้ำที่มีควำมเค็มสูง เช่น กลุ่มปลำดำว
                  หอยเม่น และปลิงทะเลกระจำยอยู่ได้แต่เมื่อน ้ำในบริเวณปำกแม่น ้ำมีควำมเค็มต ่ำในระดับ 10-15 psu สัตว์

                  ทะเลเหล่ำนี้จะไม่สำมำรถปรับตัวได้ เรำจึงไม่พบสัตว์ทะเลกลุ่มนี้ในบริเวณปำกแม่น ้ำที่มีควำมเค็มเทียบเท่ำน ้ำ

                  กร่อย สัตว์หน้ำดินหลำยชนิดสำมำรถทนควำมเค็มที่เปลี่ยนแปลงได้โดยมีกระบวนกำรปรับสมดุลเพื่อให้ควำม
                  เค็มภำยในตัวของมันใกล้เคียงกับควำมเค็มของน ้ำภำยนอกที่เรียกว่ำกระบวนกำร Osmoregulation โดยมีกำร

                  ปรับปริมำณน ้ำและอิออนภำยในตัวให้อยู่ในระดับที่ใกล้เคียงกับควำมเค็มของน ้ำภำยนอก ปูหลำยชนิดสำมำรถ

                  ปรับควำมเข้มข้นในตัวให้ใกล้เคียงกับน ้ำภำยนอกท ำให้สำมำรถเคลื่อนที่เข้ำออกบริเวณปำกแม่น ้ำได้และ
                  สำมำรถว่ำยออกไปในทะเล กลุ่มหอยสองฝำส่วนใหญ่จะปิดฝำแน่นเมื่อสัมผัสกับน ้ำที่มีควำมเค็มที่เปลี่ยนแปลง

                  ไปเพื่อป้องกันไม่ให้เนื้อเยื่อสัมผัสกับควำมเค็มที่เปลี่ยนแปลงไป ไส้เดือนทะเลหลำยกลุ่มจะหลบเข้ำไปในรูหรือ

                  ท่อหุ้ม หอยฝำเดียวก็จะลดกำรสัมผัสกับน ้ำภำยนอกโดยกำรหดส่วนเท้ำและอวัยวะส่วนอื่นให้อยู่ภำยในเปลือก
                  ที่มีฝำปิดแน่นด้ำนนอกอีกทีหนึ่ง กุ้งหลำยชนิดเช่นกุ้งตะกำดและกุ้งแชบ๊วยสำมำรถเคลื่อนที่เข้ำมำในบริเวณ

                  ปำกแม่น ้ำเพื่อเป็นที่อนุบำลตัวอ่อนและเป็นแหล่งอำหำรที่ส ำคัญ ปลำที่พบในบริเวณปำกแม่น ้ำส่วนใหญ่

                  เคลื่อนที่ไปมำได้ดีจำกบริเวณต้นน ้ำที่เป็นน ้ำจืดผ่ำนบริเวณเอสทูรี่ไปจนถึงปำกแม่น ้ำและออกสู่ทะเลในที่สุด
                  เช่นเดียวกับกุ้งและปูหลำยชนิด เรำจะพบว่ำบริเวณปำกแม่น ้ำเป็นแหล่งอำหำรที่ส ำคัญและเป็นแหล่งอนุบำล

                  ลูกปลำด้วย ในทำงตรงกันข้ำมเรำจะพบกลุ่มสัตว์หน้ำดินที่อยู่ในน ้ำจืดหรือบริเวณต้นน ้ำก็จะพยำยำมรักษำ

                  ระดับควำมเข้มข้นของน ้ำภำยในตัวให้สูงกว่ำควำมเค็มของน ้ำภำยนอก แต่เมื่อควำมเค็มเพิ่มมำกขึ้นหรือมีควำม
                  แตกต่ำงของควำมเค็มในน ้ำมำกขึ้นหรือมีควำมแตกต่ำงของควำมเค็มในน ้ำมำกขึ้น สัตว์กลุ่มนี้ก็ไม่สำมำรถด ำรง

                  ชีพอยู่ได้โดยเฉพำะเมื่อควำมเค็มของน ้ำอยู่ในระดับ 3-8 psu เช่น กุ้งก้ำมกรำมจะพบได้บริเวณน ้ำจืดหรือน ้ำที่

                  มีควำมเค็มต ่ำ ดังแสดงในภำพที่ 2.6
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65