Page 58 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 58

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               40



                  ด้ำน (Lateral abdominal gills) ตั้งแต่ปล้องท้องปล้องที่ 2-8 รวมทั้งมีเหงือกที่บริเวณท้ำยล ำตัว (Caudal

                  gills) จ ำนวน 3 เส้น มีลักษณะพองบวมขนำดใหญ่ (จุฑำมำศ ศรีปัญญำ และนิศำรัตน์ ตั้งไพโรจน์วงศ์, 2559)
                           (3) อุณหภูมิของน ้ำ

                           บริเวณต้นน ้ำจะมีอุณหภูมิต ่ำเมื่อควำมเร็วกระแสน ้ำลดลงอุณหภูมิจะค่อย ๆ เพิ่มขึ้น บริเวณล ำธำร

                  ที่ได้รับแสงเต็มที่กับบริเวณล ำธำรที่มีร่มเงำจะมีอุณหภูมิของชั้นน ้ำจะแตกต่ำงกันมำก ซึ่งมีผลต่อสัตว์หน้ำดินที่
                  อำศัยอยู่ในบริเวณนี้



                  2.2 แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดินในแหล่งน ้ากร่อย
                           แหล่งน ้ำกร่อย (Estuarine habitat) เป็นบริเวณที่มีน ้ำจืดและน ้ำทะเลมำพบกัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น

                  บริเวณปำกแม่น ้ำที่เปิดออกสู่ทะเล กำรผสมกันของมวลน ้ำจืดและน ้ำเค็มมีผลให้บริเวณนี้มีกำรเปลี่ยนแปลง

                  ควำมเค็ม ใ นช่วงกว้ำงตั้งแต่ 0.5-30 psu (psu หรือ Practical Salinity Unit เป็นหน่วยควำมเค็ม
                  มำตรฐำนสำกลมีค่ำเท่ำกับหน่วย ppt หรือส่วนในพันส่วน) กำรผสมผสำนของมวลน ้ำจืดและน ้ำทะเลขึ้นกับ

                  ปริมำณน ้ำท่ำ (runoff) ที่ไหลมำจำกแม่น ้ำหรือแหล่งน ้ำจืดและกำรขึ้นลงของน ้ำทะเล แหล่งน ้ำกร่อยเป็น

                  บริเวณที่ได้รับอิทธิพลของน ้ำขึ้นน ้ำลงจำกทะเลและมีกำรเปลี่ยนแปลงสภำพแวดล้อมตลอดเวลำโดยเฉพำะ
                  ควำมเค็มและอุณหภูมิของน ้ำ กำรเปลี่ยนแปลงสภำพแวดล้อมเกิดขึ้นในช่วงรอบวันที่มีช่วงเวลำน ้ำขึ้นและน ้ำ

                  ลงและมีกำรเปลี่ยนแปลงตำมฤดูกำลขึ้นกับปริมำณน ้ำท่ำและน ้ำฝนที่ไหลลงในบริเวณนี้ ชนิดและขนำดของดิน

                  ตะกอนซึ่งพื้นท้องทะเลส่วนมำกเป็นดินโคลนที่มีสำรอินทรีย์สูง บริเวณแหล่งน ้ำกร่อยหรือบริเวณปำกแม่น ้ำ
                  จัดเป็นบริเวณที่มีควำมอุดมสมบูรณ์มำกเป็นแหล่งอำศัยที่ส ำคัญส ำหรับสัตว์หน้ำดิน ในบริเวณนี้สำมำรถพบ

                  ระบบนิเวศได้หลำกหลำยเช่นระบบนิเวศหำดเลน ระบบนิเวศปำชำยเลน และระบบนิเวศที่ลุ่มน ้ำเค็ม (salt

                  marsh) เป็นต้น สัตว์หน้ำดินที่พบได้ในแหล่งน ้ำกร่อยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มสัตว์หน้ำดินที่มีควำมส ำคัญทำง
                  เศรษฐกิจ เช่น หอยสองฝำหลำยชนิดทั้ง หอยแครง หอยแมลงภู่ หอยกะพง หอยลำย หอยหลอดและหอย

                  นำงรม เป็นต้น บริเวณปำกแม่น ้ำแม่กลอง จังหวัดสมุทรสงครำม เป็นแหล่งประมงที่ส ำคัญของหอยแครงและ

                  หอยหลอด เช่นเดียวกับบริเวณปำกแม่น ้ำบำงประกงเป็นแหล่งหอยแมลงภู่และหอยกะพง เป็นต้น บริเวณปำก
                  แม่น ้ำตรำดเป็นแหล่งประมงหอยลำยที่ส ำคัญ นอกจำกนี้ กุ้งชนิดต่ำง ๆ ตลอดจนเคยที่ใช้ท ำกะปิก็พบได้ชุกชุม

                  บริเวณปำกแม่น ้ำทั้งสิ้น

                           แหล่งน ้ำกร่อยมีแหล่งอำศัยของสัตว์หน้ำดิน 2 บริเวณ ซึ่งมีสภำพแวดล้อมที่แตกต่ำงกันคือ (1)
                  บริเวณปำกแม่น ้ำซึ่งสัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่ตำมพื้นดินจะอยู่ใต้น ้ำตลอดเวลำ และ (2) บริเวณป่ำชำยเลนที่มี

                  อิทธิพลของน ้ำขึ้นและน ้ำลงในรอบวัน สัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่ในบริเวณป่ำชำยเลนต้องสัมผัสกับอำกำศเมื่อน ้ำ

                  ลงและสัมผัสกับน ้ำทะเลเมื่อน ้ำขึ้น ซึ่งจ ำเป็นต้องมีกำรปรับตัวเป็นอย่ำงมำกเพื่อให้สำมำรถด ำรงชีพในบริเวณนี้
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63