Page 57 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 57

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               39



                  เกำะติดอยู่กับพื้นผิววัตถุในแหล่งอำศัย โดยตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน ้ำสกุล Cheumatopsyche,

                  Hydropsyche และ Chimarra ปั่นใยสร้ำงที่อำศัยให้ยึดติดกับพื้นหิน ส่วนสกุล Lepidostoma สำมำรถสร้ำง
                  ปลอกหุ้มตัวและหลบซ่อนตำมซำกใบไม้ ตัวอ่อนแมลงชีปะขำวในวงศ์ Heptageniidae มีล ำตัวแบนแนบไปกับ

                  พื้นอำศัย ตัวอ่อนแมลงชีปะขำวในวงศ์นี้และตัวอ่อนแมลงเกำะหิน (stoneflies) จะหลบซ่อนตัวอยู่ใต้ก้อนหิน

                  และซำกใบไม้ซึ่งท ำให้ตัวมันไม่ถูกพัดพำไปกับกระแสน ้ำ (ปฏิพัทธ์ เทวำภวัต และนฤมล แสงประดับ, 2560)
                  แมลงเกำะหินที่พบอำศัยอยู่ในบริเวณที่มีกระแสน ้ำไหลเชี่ยวมีรูปร่ำงแบนรำบ (streamlined shape) ด้วย

                  เช่นกันเพื่อป้องกันกำรถูกพัดพำไปกับกระแสน ้ำ ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน ้ำ Polymorphanisus sp.,

                  Stenopsyche sp. และ Setodes sp. จัดเป็นสัตว์หน้ำดินที่ตอบสนองต่อควำมเร็วของกระแสน ้ำในบริเวณน ้ำ
                  ไหลเชี่ยว ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน ้ำทั้งสำมชนิดพบอำศัยอยู่ในบริเวณที่มีกระแสน ้ำไหลแรงโดยกำรซ่อนตัว

                  อำศัยหรือสร้ำงรังอยู่ใต้ก้อนหิน ในพวกตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน ้ำ Setodes sp. จะสร้ำงปลอกอำศัยซึ่งมี

                  ลักษณะเป็นรูปกรวยเรียวยำวที่ท ำจำกเม็ดทรำยขนำดเล็กมำกและตัวอ่อนมักอำศัยอยู่ตำมใต้ก้อนหินขนำด
                  กลำงและขนำดเล็ก (จุฑำมำศ ศรีปัญญำ และนิศำรัตน์ ตั้งไพโรจน์วงศ์, 2559) นอกจำกนี้สัตว์หน้ำดินกลุ่มหอย

                  ฝำเดียว (gastropods) ที่อำศัยอยู่ในบริเวณน ้ำไหลเชี่ยวจะหลั่งสำรเมือกเหนียวใช้ส ำหรับช่วยยึดเกำะ

                           ส่วนเขตน ้ำไหลเอื่อยเป็นบริเวณที่ไม่เหมำะกับสัตว์หน้ำดินพวกเกำะติด ซึ่งสัตว์หน้ำดินที่พบส่วน
                  ใหญ่เป็นพวกขุดรูหรือฝังตัวอยู่ในดิน เช่น ตัวอ่อนแมลงชีปะขำวกรำมงอน Hexagenia sp. ตัวอ่อนแมลงปอ

                  Progomphus sp. จุฑำมำศ ศรีปัญญำ และนิศำรัตน์ ตั้งไพโรจน์วงศ์ (2559) ศึกษำสัตว์หน้ำดินในล ำห้วยหญ้ำ

                  เครือและห้วยพรมแล้ง เขตอุทยำนแห่งชำติน ้ำหนำว จังหวัดเพชรบูรณ์ พบว่ำสัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่ในบริเวณ
                  ที่มีควำมเร็วของกระแสน ้ำไหลเอื่อยหรือน ้ำค่อนข้ำงนิ่งเป็นบริเวณพื้นท้องน ้ำที่มีกำรทับถมของใบไม้กิ่งไม้ที่ล่วง

                  หล่นลงสู่ล ำธำรเป็นพวกตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน ้ำ Ganonema sp. และ Anisocentropus sp. สัตว์หน้ำ

                  ดินกลุ่มนี้มักพบอำศัยอยู่ตำมกองเศษซำกใบไม้กิ่งไม้ในล ำธำร โดยกำรน ำเศษซำกเหล่ำนี้มำสร้ำงเป็นรังและเป็น
                  แหล่งอำหำร และพบตัวอ่อนแมลงชีปะขำว Ephemera sp. มักขุดรูอำศัยอยู่ใต้ดินตะกอนละเอียดหรือพื้น

                  ทรำยละเอียดในบริเวณที่น ้ำไหลช้ำ

                           (2) ออกซิเจนละลำยน ้ำ
                           ปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำในแหล่งน ้ำไหลมีมำกกว่ำแหล่งน ้ำนิ่ง เนื่องจำกมีกระแสน ้ำตลอดจนกำร

                  ที่มีกระแสน ้ำปะทะกับฝั่ง สัตว์หน้ำดินที่พบได้ในแหล่งน ้ำไหลมักเป็นกลุ่มที่ต้องกำรปริมำณออกซิเจนสูงในกำร

                  ด ำรงชีวิตไม่สำมำรถทนได้ต่อปริมำณออกซิเจนต ่ำในน ้ำ สัตว์หน้ำดินพวกตัวอ่อนแมลงมีกำรหำยใจแลกเปลี่ยน
                  ก๊ำซออกซิเจนในน ้ำผ่ำนทำงเหงือก ตัวอ่อนแมลงชีปะขำว ตัวอ่อนแมลงเกำะหินและตัวอ่อนแมลงปอจะมี

                  เหงือกขนำดใหญ่หรือเป็นกลุ่มพู่ขนซึ่งท ำให้มีพื้นผิวส ำหรับกำรแลกเปลี่ยนก๊ำซเพิ่มขึ้น หนอนปลอกน ้ำที่มีกำร

                  สร้ำงปลอกห่อหุ้มล ำตัวที่ท ำจำกเศษกรวด ทรำย หิน ใบไม้หรือกิ่งไม้ ปลอกหุ้มล ำตัวมีส่วนช่วยในกำรเก็บกัก
                  ออกซิเจนในบริเวณที่มีออกซิเจนต ่ำ กำรปรับตัวด้ำนรูปร่ำงของสัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่ในระบบนิเวศแหล่งน ้ำ

                  ไหล เช่น พวกตัวอ่อนแมลงปอเข็มหำงโป่งในวงศ์ Euphaeidae (อันดับ Odonata) ซึ่งตัวอ่อนมักพบอำศัยอยู่

                  ใต้หินที่มีขนำดกลำงในบริเวณแหล่งน ้ำไหล ตัวอ่อนมีลักษณะเด่นคือมีเหงือกที่บริเวณด้ำนข้ำงของท้องทั้งสอง
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62