Page 76 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 76

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               58



                           แอ่งน ้ำ (tide pools) เป็นแอ่งน ้ำขังที่พบตำมหำดหินมีหลำยขนำดทั้งขนำดเล็กและใหญ่ ในขณะ

                  ที่น ้ำลงแอ่งหินจะโผล่พ้นน ้ำสัมผัสกับอำกำศและในยำมน ้ำขึ้นจะมีน ้ำท่วมจนหมด เรำจะพบสัตว์หน้ำดิน
                  หลำยชนิดที่อำศัยตำมแอ่งน ้ำ เช่น หอยขี้กำ ปูเสฉวน ปูหิน เม่นทะเลและปลิงทะเล เป็นต้น สัตว์ที่พบต้องมี

                  กำรปรับตัวให้ทนได้ต่อกำรเปลี่ยนแปลงตำมช่วงเวลำน ้ำขึ้นน ้ำลงทั้งอุณหภูมิ ควำมเค็มและปริมำณ

                  ออกซิเจน สัตว์หน้ำดินในบริเวณหำดหินส่วนใหญ่เป็นกลุ่มที่ทนต่อกำรเปลี่ยนแปลงควำมเค็มในช่วงกว้ำง
                  (Euryhaline animals) มีควำมสำมำรถในกำรควบคุมปริมำณน ้ำและเกลือแร่ในตัวได้ดี เมื่อควำมเค็ม

                  ภำยในเปลี่ยนแปลงไปเช่นเดียวกับสัตว์หน้ำดินที่พบในป่ำชำยเลน กำรปรับตัวที่ส ำคัญอีกประกำรหนึ่งคือ

                  กำรหำยใจในปริมำณออกซิเจนต ่ำ และควำมสำมำรถในกำรหำยใจโดยใช้ออกซิเจนและกำรหำยใจโดยไม่มี
                  ออกซิเจนได้เช่นเดียวกับสัตว์หน้ำดินในป่ำชำยเลน ช่วงเวลำที่สัตว์หน้ำดินเหล่ำนี้กินอำหำรและหำยใจขึ้นกับ

                  ช่วงเวลำน ้ำขึ้นน ้ำลง

                           (3) เขตต ่ำกว่ำระดับน ้ำลง (Lower intertidal/Sublittoral zone)
                           สัตว์หน้ำดินที่พบได้บริเวณเขตต ่ำกว่ำระดับน ้ำลงบนหำดหิน ส่วนใหญ่เป็นพวกสัตว์ที่เกำะติดอยู่

                  กับที่ เช่น พวกฟองน ้ำ ปะกำรัง ดอกไม้ทะเลและหอยนำงรม เป็นต้น นอกจำกนี้ยังมีพวกสัตว์หน้ำดินที่เป็น

                  ผู้ล่ำเช่น ดำวทะเล กุ้งและปูหลำยชนิด บริเวณนี้จะมีน ้ำท่วมตลอดเวลำหรือโผล่พ้นน ้ำในบำงครั้งซึ่งมักเป็น
                  ระยะเวลำสั้น กำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและควำมเค็มมีน้อยมำกเพรำะอยู่ใต้น ้ำตลอด สัตว์หน้ำดินบริเวณนี้

                  สำมำรถหำอำหำรได้ตลอดเวลำ โดยเฉพำะพวกที่กรองกินอำหำรจำกน ้ำและพวกที่ด ำรงชีพเป็นผู้ล่ำ ผู้ล่ำจะ

                  มีบทบำทส ำคัญในกำรก ำหนดกำรกระจำยของสัตว์หน้ำดินที่อำศัยในเขตน ้ำขึ้นน ้ำลงบนหำดหิน


                         2.3.2 แหล่งอาศัยและการปรับตัวของสัตว์หน้าดินในระบบนิเวศหาดทราย
                           ระบบนิเวศหำดทรำยเป็นแหล่งที่อยู่อำศัยของสัตว์หน้ำดินในทะเลที่มีควำมเปลี่ยนแปลง

                  ค่อนข้ำงมำก เนื่องจำกพื้นทรำยเป็นพื้นที่อ่อนนุ่มสำมำรถถูกคลื่นลมและกระแสน ้ำพัดพำไปได้ กำร

                  เปลี่ยนแปลงลักษณะหำดทรำยเกิดขึ้นได้ในรอบวันและมีกำรเปลี่ยนแปลงตำมฤดูกำล คลื่นและกระแสน ้ำที่
                  พบบริเวณหำดทรำยจะมีบทบำทส ำคัญในกำรตกทับถมของดินตะกอนในบริเวณนี้ มีผลต่อขนำดอนุภำคดิน

                  ตะกอนและควำมคงที่อยู่ตัวของชำยหำด บริเวณชำยหำดที่รับคลื่นโดยตรงมักพบกำรสะสมของเม็ดทรำย

                  ขนำดใหญ่ ขนำดอนุภำคดินตะกอนมีควำมสัมพันธ์กับปริมำณอินทรียสำรในดิน ปริมำณออกซิเจนในชั้นดิน
                  ปริมำณน ้ำที่แทรกอยู่ระหว่ำงตะกอนตลอดจนมีผลต่อชนิด กำรกระจำยและควำมอุดมสมบูรณ์ของสัตว์หน้ำ

                  ดิน สัตว์หน้ำดินที่พบบริเวณหำดทรำยส่วนใหญ่เป็นพวกที่ขุดรูและฝังตัวอยู่ในดิน (infauna) เนื่องจำกเม็ด

                  ทรำยมีกำรเคลื่อนที่ตลอดเวลำ กำรเคลื่อนที่ของเม็ดทรำยท ำให้เกิดกำรเสียดสีกันเป็นเหมือนเครื่องโม่บด
                  สัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่บริเวณนั้น ดังนั้นจึงพบสัตว์หน้ำดินส่วนใหญ่จะขุดรูหรือฝังตัวอยู่ในชั้นทรำยที่ลึกกว่ำ

                  บริเวณผิวหน้ำ สัตว์หน้ำดินส่วนใหญ่จะมีเปลือกหุ้มหรือมีกระดองหุ้มเพื่อป้องกันกำรเสียดสีหรือกำรถูกบด

                  โดยเม็ดทรำย และช่วยลดกำรสูญเสียน ้ำออกจำกตัว น ้ำขึ้นลงบริเวณหำดทรำยเป็นตัวก ำหนดช่วงเวลำใน
                  กำรโผล่พ้นน ้ำเพื่อสัมผัสกับอำกำศหรือกำรมีน ้ำทะเลท่วมบริเวณที่อยู่ ซึ่งจะควบคุมช่วงเวลำกำรกินอำหำร
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81