Page 7 - Ebook_AGRI_ 8-3
P. 7

วารสารเกษตรหันตราปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจ าเดือน กันยายน – ธันวาคม 2565                     Kaset Huntra Gazette  Vol.8 No.3 September - December 2022


             การใช้สัตว์หน้าดินขนาดใหญ่เป็นดัชนีชีวภาพ



                              เพื่อประเมินคุณภาพแหล่งน ้า




           บริเวณแม่น ้าป่าสัก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา





                   สัตว์หน้าดิน (Benthic macrofauna) ส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม        แม่น้ าป่าสักในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นแม่น้ าที่
           สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อาศัยอยู่ตามพื้นท้องน้ า โดยการขุดรู       ไหลมาจากจังหวัดสระบุรี เข้าสู่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาบริเวณ
           ฝังตัว หรือคืบคลานหากินตามผิวหน้าดิน สัตว์หน้าดินกลุ่มหลัก    อ าเภอท่าเรือ ผ่านอ าเภอนครหลวง แล้วบรรจบกับแม่น้ าเจ้าพระยา

           ได้แก่ กุ้ง ปู หอย ไส้เดือนน้ า และตัวอ่อนแมลง สัตว์เหล่านี้สามารถ  ในเขตอ าเภอพระนครศรีอยุธยาบริเวณหน้าวัดพนัญเชิง ความยาว
           ใช้ประเมินคุณภาพแหล่งน้ าได้ เนื่องจากการด ารงชีวิตมักพบอาศัย    ของแม่น้ าที่ไหลผ่านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาประมาณ 52
           อยู่กับที่ เคลื่อนที่ได้น้อยและเชื่องช้า เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลง  กิโลเมตร แม่น้ าสายนี้มีปัญหาคุณภาพน้ าเสื่อมโทรมจากน้ าทิ้ง
           สภาพแวดล้อมในแหล่งน้ า จึงส่งผลโดยตรงต่อความหลากหลาย     และสารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และชุมชน

           ชนิดและความชุกชุมของประชาคมสัตว์หน้าดิน นอกจากนี้        บ้านเรือน[6] ตลอดจนกิจกรรมเรือบรรทุกสินค้าจ านวนมาก [7]

           สัตว์หน้าดินมีความสามารถปรับตัวให้ทนต่อสภาพแวดล้อม            การศึกษาความหลากหลายชนิดของสัตว์หน้าดินและ
           ได้แตกต่างกัน จึงท าให้พบอาศัยอยู่ได้ตั้งแต่แหล่งน้ าสะอาดจนถึง       ปัจจัยสิ่งแวดล้อมคุณภาพน้ าและดินตะกอนในบริเวณแม่น้ าป่าสัก

           แหล่งน้ าคุณภาพเสื่อมโทรม กลุ่มสัตว์ที่พบในแหล่งน้ าสะอาด เช่น        เขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งแต่บริเวณต้นแม่น้ าในอ าเภอ

           ตัวอ่อนแมลงชีปะขาว แมลงเกาะหิน แมลงหนอนปลอกน้ า ซึ่งเป็น     ท่าเรือจนถึงปลายแม่น้ าในอ าเภอพระนครศรีอยุธยา โดยก าหนด
           กลุ่มที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม บางชนิดพบในน้ า  สถานีเก็บตัวอย่างจ านวน 10 สถานี (ภาพที่ 1) พบสัตว์หน้าดิน
          คุณภาพปานกลางหรือพอใช้ เช่น หอยฝาเดียว กุ้ง ปู และบางชนิด  กลุ่มเด่นเป็นพวกทนมลพิษจากสารอินทรีย์ ได้แก่ ไส้เดือนน้ าใน

           พบในน้ าสกปรก เช่น ไส้เดือนน้ า และตัวอ่อนแมลงริ้นน้ าจืด       วงศ์ Tubificidae (ภาพที่ 2 a) โพลิคีตในวงศ์ Nereididae และ
           เป็นต้น                                              Nephtyidae) (ภาพที่ 2b, c) ตัวอ่อนแมลงในวงศ์ Chironomidae

                   ปัจจุบันมีการพัฒนาดัชนีชีวภาพสัตว์หน้าดินเพื่อใช้  (ภาพที่ 2d) หอยฝาเดียวในวงศ์ Viviparidae (ภาพที่ 3a) หอยสอง
           ประเมินคุณภาพแหล่งน้ า ร่วมกับการประเมินผลกระทบและ   ฝาในวงศ์ Corbiculidae (ภาพที่ 3b) ดินตะกอนมีสัดส่วนเนื้อดิน

           ติดตามคุณภาพน้ าด้วยวิธีทางกายภาพและเคมี [1-3] และมีการ  โคลนละเอียด (silt-clay; ขนาดอนุภาค <0.063 มม.) แปรผัน
           ทดลองใช้ในหลายพื้นที่ เช่น การประยุกต์ใช้ดัชนีชีวภาพ Belgian   ในช่วงร้อยละ 5.56-65.17 ปริมาณสารอินทรีย์ในดินมีค่าในเกณฑ์

           Biotic Index (BBI) ประเมินคุณภาพน้ าจากโรงงานผลิตน้ ามัน  สูงถึงสูงมาก (ร้อยละ 3.46-7.33) คุณภาพน้ าโดยทั่วไปจัดอยู่ใน
           ปาล์มในจังหวัดชลบุรี [4] ดัชนีชีวภาพ BMWP  score     แหล่งน้ าประเภทที่ 3 เพื่อการเกษตร อุปโภคและบริโภค (ปรับปรุง
                                                    thai
                                                    thai
          (Biological Monitoring Working Party)  และ ASTP  Score   ทั่วไป) ตามมาตรฐานคุณภาพน้ าในแหล่งน้ าผิวดิน [6] โดยเฉพาะ
           (Average Score Per Taxa) ประเมินคุณภาพน้ าในอ่างเก็บน้ า  เมื่อพิจารณาจากค่าพีเอช (pH) (8.07-9.38) และปริมาณออกซิเจน

           เขื่อนน้ าอูน จังหวัดสกลนคร [5]                      ละลายน้ า (3.66-10.70 มก./ล. ซึ่งเกณฑ์ก าหนดไว้ที่ 5-9 และ
                                                                4 มก./ล. ตามล าดับ [8]









                                                                                                             - 6 -
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12