Page 11 - Ebook_AGRI_ 8-3
P. 11

วารสารเกษตรหันตราปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจ าเดือน กันยายน – ธันวาคม 2565                     Kaset Huntra Gazette  Vol.8 No.3 September - December 2022



           และจากงานวิจัยล่าสุดของคณะผู้วิจัยที่ได้ตีพิมพ์ลงใน        ดังนั้นการเติมไขร าข้าวผสมกับเนยโกโก้จึงเป็นทางเลือก
                                                              หนึ่งในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตทนความร้อน และยังเป็น
          วารสารวิชาการระดับนานาชาติ มีการศึกษาผลของการเติม
           ไขร าข้าว (Rice bran wax หรือ RBX) ลงในเนยโกโก้ [5] พบว่า  การสร้างมูลค่าเพิ่มโดยการใช้ประโยชน์จากไขร าข้าวซึ่งเป็น
           การเติมไขร าข้าวเร่งการตกผลึกของเนยโกโก้ โดยชักน าให้เนยโกโก้  ของเหลือจากกระบวนการผลิตน้ ามันร าข้าวอีกด้วย
           เกิดการตกผลึกอยู่ในรูปแบบ V (ซึ่งเป็นรูปแบบผลึกที่ต้องการ             การพัฒนาผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตและช็อกโกแลตเคลือบ
                                                              ทนความร้อนโดยการปรับปรุงคุณสมบัติการหลอมเหลวของไขมัน

           ในช็อกโกแลต) เนยโกโก้ที่เติมไขร าข้าวและผ่านขั้นตอนการ        ที่เป็นองค์ประกอบจึงเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยเพิ่มโอกาสของ
           เทมเพอริ่ง (Tempering) จะเกิดการหลอมเหลวช้ากว่า และ        ผลิตภัณฑ์ในการจ าหน่ายในพื้นที่ที่มีสภาพอากาศร้อนหรือมี
          เกิดการเคลื่อนที่ของน้ ามันเหลวน้อยกว่า (ภาพที่ 3) นอกจากนี้     อุณหภูมิสูงได้ โดยผลิตภัณฑ์ยังคงมีลักษณะคุณภาพที่ดีและเป็นที่

          ไขร าข้าวยังช่วยชะลอการเกิด Fat bloom ซึ่งเป็นลักษณะปรากฏ   ต้องการของผู้บริโภค
           ที่ไม่ต้องการในระหว่างการเก็บรักษาอีกด้วย



                                                                    ภาพที่ 3 การหลอมเหลวของเนยโกโก้ (CB) และเนยโกโก้ที่เติม
                                                                     ไขร าข้าว (5 wt% RBX) ในระหว่างการเก็บที่อุณหภูมิ 35 °C

                                                                                    เป็นเวลา 60 นาที









                                                                                       ผู้เขียนบทความ: อาจารย์ ดร.ปวิชญา โภชฌงค์

                                                        สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
        เอกสารอ้างอิง                                                                     มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

        [1]   Lambert, J.D. 2017. Nutritional and health aspects of chocolate. In S.T., Beckett, M.S., Fowler and G.R., Ziegler
              (Eds.), Beckett’s Industrial Chocolate Manufacture and Use (5th ed.) (pp. 521-531). John Wiley & Sons Ltd.

        [2]   Stortz, T.A. and Marangoni, A.G. 2011. Heat resistant chocolate. Trends in Food Science & Technology, 22, 201-214.

        [3]   Ornla-ied, P., Podchong, P., and Sonwai, S. 2021. Synthesis of cocoa butter alternatives from palm


              kernel stearin, coconut oil and fully hydrogenated palm stearin blends by chemical interesterification.
              Journal of Oleo Science, 69(7), 659-670.


        [4]   Podchong, P., Inbumrung, P. and Sonwai, S. 2020. The effect of hard lauric fats on the crystallization
              behavior of cocoa butter substitute. Journal of Oleo Science, 69(7), 659-670.


        [5]   Podchong, P., Aumpai, K., Sonwai, S. and Rousseau, D. 2022. Rice bran wax effects on cocoa butter
              crystallisation and tempering. Food Chemistry, 397, 133635.




                                                                                                             - 10 -
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16