Page 8 - Ebook_AGRI_ 8-3
P. 8

วารสารเกษตรหันตราปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจ าเดือน กันยายน – ธันวาคม 2565                     Kaset Huntra Gazette  Vol.8 No.3 September - December 2022





                                               thai
                 การประยุกต์ใช้ดัชนีชีวภาพ  BMWP  score และ
              thai
          ASTP  Score ซึ่งเป็นดัชนีที่มีการให้คะแนนความสามารถของสัตว์
           ในการปรับตัวให้ทนต่อสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน ตั้งแต่แหล่งน้ า
          สะอาดจนถึงแหล่งน้ าคุณภาพเสื่อมโทรม สัตว์ที่ทนต่อมลพิษได้น้อย

          จะมีค่าคะแนนสูงส่วนพวกที่ทนมลพิษได้มากจะมีค่าคะแนนต่ า
           โดย BMWP  score มีค่าคะแนนเริ่มจาก 1 ถึง 10 ผลรวมของ
                   thai
           คะแนนที่หารด้วยจ านวนวงศ์ (Family) ของสัตว์ที่พบแต่ละสถานีจะ
                               thai
           ได้เป็นคะแนนเฉลี่ย ASTP  Score ซึ่งก าหนดไว้ในช่วง 1-2
          (คุณภาพน้ าสกปรก) 3-4 (คุณภาพน้ าค่อนข้างสกปรก) 5-6 (คุณภาพ

          น้ าปานกลาง) 7-8 (คุณภาพน้ าค่อนข้างดี) และ 9-10 (คุณภาพน้ าดี)
           [5] ผลการประเมินคุณภาพน้ าด้วยดัชนีชีวภาพนี้ พบว่าแม่น้ าป่าสัก

          เขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จัดเป็นแหล่งน้ าประเภทคุณภาพน้ า
          เสื่อมโทรมตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้ าในแหล่งน้ าผิวดินประเภท   ภาพที่ 2 ไส้เดือนน้ าในวงศ์ Tubificidae (a) โพลิคีตในวงศ์
                                                   thai
           4 (คุณภาพน้ าค่อนข้างสกปรก) โดยมีค่าคะแนน ASPT  Score   Nereididae (b) โพลิคีตในวงศ์ Nephtyidae (c) ตัวอ่อนแมลงในวงศ์
           ระหว่างสถานีโดยรวมมีค่าแปรผันในช่วง 2.00-4.25                           Chironomidae (d)
                                                   thai
                 งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าดัชนีชีวภาพ BMWP  Score
           และ ASPT  Score สามารถน ามาใช้ประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อม
                  thai
           แหล่งน้ าได้ ซึ่งให้ผลที่สอดคล้องกับชนิดของสัตว์หน้าดิน และ
           ปริมาณสารอินทรีย์ในดินตะกอน ซึ่งหากมีการปรับใช้ดัชนีชีวภาพ


          ของสัตว์หน้าดินให้มีความเหมาะสมกับพื้นที่ เนื่องจากสัตว์หน้าดิน
           แต่ละแห่งมีความแตกต่างทางชนิดกัน ย่อมท าให้ผลการประเมิน
           คุณภาพสิ่งแวดล้อมแหล่งน้ ามีแม่นย ามากขึ้น

                                                                 ภาพที่ 3 หอยฝาเดียวในวงศ์ Viviparidae (a) หอยสองฝาในวงศ์
                                                                                  Corbiculidae (b)















                 ภาพที่ 1 สถานีเก็บตัวอย่างในบริเวณแม่น้ าป่าสัก

                        เขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา                    ภาพที่ 4 สัตว์หน้าดินกลุ่มเด่นที่พบบริเวณแม่น้ าป่าสัก

                                                                             เขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา [9]


                                                                                                             - 7 -
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13