Page 10 - Ebook_AGRI_ 8-3
P. 10

วารสารเกษตรหันตราปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจ าเดือน กันยายน – ธันวาคม 2565                     Kaset Huntra Gazette  Vol.8 No.3 September - December 2022



            การพัฒนาผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตและ





                    ช็อกโกแลตเคลือบทนความร้อน






                  ช็อกโกแลตเป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้รับความนิยมทั่วโลก
           (ภาพที่ 1) นอกจากรสชาติที่อร่อยเป็นที่ชื่นชอบของผู้บริโภคแล้ว

          ช็อกโกแลตยังมีประโยชน์ต่อสุขภาพ เนื่องจากมีสารออกฤทธิ์ทาง


           ชี ว ภ า พ ที่ ส  า คั ญ   ไ ด้ แ ก่   polyphenols (Flavanols  แ ล ะ   ภาพที่ 2 การเปลี่ยนแปลงรูปทรงของช็อกโกแลตเนื่องจากการ
           proanthocyanidins) และ Methylxanthines (Theobromine    หลอมเหลวและการเกิดลักษณะปรากฏสีขาวบนพื้นผิวช็อกโกแลต

           และ Caffeine) ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือด                 (fat bloom)
          หัวใจ ลดการอักเสบ ช่วยเรื่องความจ า และท าให้อารมณ์ดี [1]   จากการศึกษาข้อมูลงานวิจัยในช่วงที่ผ่านมามีการพัฒนา

                                                               ผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตและช็อกโกแลตเคลือบทนความร้อนด้วย
                                                                วิธีการต่างๆ แบ่งได้เป็น 3 วิธีหลัก ได้แก่ การปรับปรุงโครงสร้าง


                                                               ของส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ การเติมสารประเภทโพลิเมอร์ และ
                                                                การเพิ่มจุดหลอมเหลวของเฟสไขมันที่เป็นองค์ประกอบในผลิตภัณฑ์ [2]


                                                                      การเพิ่มจุดหลอมเหลวของเฟสไขมันที่เป็นองค์ประกอบ
                                                               เป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้มากในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตและ

                                                               ช็อกโกแลตเคลือบทนความร้อน ซึ่งสามารถท าได้โดยการเติมไขมัน

                                                                 หรือองค์ประกอบที่มีจุดหลอมเหลวสูงลงไปผสมในเฟสไขมัน หรือ
           ภาพที่ 1 ผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตและขนมหวานเคลือบช็อกโกแลต   อาจใช้วิธีการดัดแปรโครงสร้างทางเคมีของไขมันที่เรียกว่าอินเตอร์

                  ผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตที่ดีควรมีลักษณะปรากฏที่มันเงา      เอสเตอริฟิเคชัน (Interesterification) [3] โดยจะขอยกตัวอย่าง
          (Glossy) มีความเปราะ (Snap) เมื่อหักหรือกัด หลอมเหลวหมด      ของงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลตและ

          ที่อุณหภูมิภายในปากและให้เนื้อสัมผัสที่เนียนละมุน แต่ในประเทศ    ช็อกโกแลตเคลือบทนความร้อนดังนี้
          ที่อยู่ในภูมิอากาศเขตร้อน เช่น ประเทศไทย มักมีปัญหาเรื่อง          การใช้ไขมันจากเมล็ดกระบกซึ่งเป็นไขมันประเภทที่มี

          การหลอมเหลวของช็อกโกแลตในระหว่างการขนส่งและ
                                                               กรดลอริคสูงและมีจุดหลอมเหลวประมาณ 40-42 °C มาผสมกับ
           การวางจ าหน่าย เนื่องจากเนยโกโก้ (Cocoa butter) ซึ่งเป็นไขมัน  ไขมันทดแทนเนยโกโก้ทางการค้า พบว่าไขมันผสมที่ได้
          ที่เป็นองค์ประกอบหลักในช็อกโกแลตเมื่ออยู่ในรูปแบบผลึก
                                                               มีความสามารถในการทนความร้อนที่สูงขึ้น แต่ยังสามารถ
           ที่เสถียร (Form V) จะเกิดการหลอมเหลวที่อุณหภูมิ 33.8 °C [2]
                                                               หลอมเหลวได้ที่อุณหภูมิร่างกาย จึงไม่ท าให้เกิดลักษณะเป็นไข
           ซึ่งหากอุณหภูมิสูงเกินจะท าให้ผลิตภัณฑ์มีลักษณะเหลว เละ   เคลือบปากเมื่อรับประทาน ดังนั้นการใช้ไขมันจากเมล็ดกระบก

           รูปทรงเปลี่ยนแปลง และอาจส่งผลให้เกิดลักษณะปรากฏสีขาวบน  ผสมกับไขมันทดแทนเนยโกโก้ทางการค้าในอัตราส่วนที่เหมาะสม
          พื้นผิวช็อกโกแลต (Fat bloom) ตามมา (ภาพที่ 2)        สามารถน าไปใช้ในการผลิตช็อกโกแลตเคลือบทนความร้อนได้ [4]


                                                                                                             - 9 -
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15