Page 5 - Ebook_AGRI_ 8-3
P. 5

วารสารเกษตรหันตราปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจ าเดือน กันยายน – ธันวาคม 2565                     Kaset Huntra Gazette  Vol.8 No.3 September - December 2022



                                     เฟิร์นกินได้ “ผักกูด”




                                   The vegetable fern



            “Diplazium esculentum (Retz.) Sw.”






          ผักกูด (Vegetable fern) มีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Diplazium      การปลูก

          esculentum (Retz.) Sw. เป็นพืชตระกูลเฟิร์น (Athyriaceae)   o  ระยะปลูก 50 x 50 เซนติเมตร เนื่องจากมีขนาดทรง

           และเป็นเฟิร์นกินได้ (Edible fern) [3] มีลักษณะวิสัยคือ เป็นเฟิร์น  พุ่มกว้าง

          ต้นขนาดใหญ่ เหง้าทอดเลื้อยตามผิวดิน (Rhizome) ลักษณะใบ    o  วิธีการปลูก มี 2 วิธี ได้แก่ การปลูกร่วมกับพืชชนิดอื่น
           เป็นใบประกอบแบบขนนก 2-3 ชั้น ใต้ใบมีสปอร์สีน้ าตาลเรียงตาม   (เช่น กล้วย ยางพารา สัก เป็นต้น) เพื่อใช้พืชอื่นในการ
                                                                        พรางแสง
          แนวเส้นใบเพื่อใช้ในการขยายพันธุ์ ยอดใบอ่อนม้วนงอ (Young
           shoots or fronds) เป็นส่วนที่นิยมน ามาบริโภค ผักกูดมีถิ่นอาศัย   o  การปลูกภายใต้การพรางแสงด้วยสแลนขนาด 60-80
                                                                        เปอร์เซ็นต์
           สามารถเจริญเติบโตได้ดีในพื้นที่ที่ฝนตกชุกและความชื้นค่อนข้างสูง   การดูแลรักษา
           และพบมากตามริมห้วยที่มีแสงแดดร าไรหรือที่ชุ่มชื้นในป่าทั่ว  o  ใช้ปุ๋ยอินทรีย์เป็นหลัก เช่น มูลวัว มูลไก่ ใส่ทุก ๆ
          ประเทศไทย จึงท าให้มีชื่อเรียกเฉพาะถิ่นแตกต่างกัน ได้แก่      3 เดือน ต่อครั้งเพื่อปรุงดิน

           ภาคเหนือ (เรียกว่า ผักกูด กูดกิน ผักกูดหลวง) ภาคกลาง (เรียกว่า   o  ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดน้ า เช่น น้ าจุลลินทรีย์หมัก 1-2 ครั้ง
           ผักกูด) ภาคอีสานและภาคใต้ (เรียกว่า หัสด า)                  ต่อเดือน ช่วงอายุ 6-8 เดือน หรือระยะที่เริ่มเก็บ
                                                                        ผลผลิต เพื่อช่วยให้ผักกูดแตกยอด และผลผลิตเพิ่มขึ้น

           การขยายพันธุ์ การปลูกและการดูแลรักษา                     o  ด้านโรคและแมลง ผักกูดจัดเป็นพืชที่ไม่มีโรคและแมลง
                                                                        รบกวน ดังนั้น ไม่มีการใช้สารเคมีเพื่อป้องกันก าจัดโรค
                 ขยายพันธุ์โดยใช้สปอร์ที่สร้างขึ้นบริเวณด้านหลังใบ เมื่อ  และแมลง สามารถส่งเสริมผักกูดเป็นพืชผักปลอด

          สปอร์ (Spore) ปลิวไปตกบริเวณที่มีความชื้นก็จะแตกเป็นต้นใหม่   สารพิษ

          และขยายพันธุ์โดยใช้ต้นใหม่ที่เกิดจากส่วนเหง้าหรือรากฝอย
           ของต้นแม่ (Rhizome)












                              ภาพที่ 1 แสดงส่วนขยายพันธุ์ การเจริญเติบโต และการแปรรูปเพื่อบริโภค ที่มา: [1]

                                                                                                             - 4 -
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10