Page 116 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 116

การเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างสัตว์หน้าดิน                                                 98



                  บริเวณที่เป็นแหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดินเพื่อเปรียบเทียบกัน เช่นแบ่งการเก็บตัวอย่างตามเขตพันธุ์ไม้เด่นในป่า

                  ชายเลนเป็นตัวแทนเขตป่าแสม ตัวแทนเขตป่าโกงกางและเขตหาดเลน เป็นต้น ตัวอย่างการศึกษาสัตว์หน้าดิน
                  เชิงคุณภาพคือการศึกษาสัตว์หน้าดินจากเครื่องมือคราดและอวน การศึกษาชีววิทยาการสืบพันธุ์ของไส้เดือน

                  ทะเลเป็นตัวอย่างการศึกษาเชิงคุณภาพอีกแบบหนึ่งโดยที่มีการเก็บรวบรวมไส้เดือนทะเลขนาดต่างกันมาเพื่อ

                  แยกเพศและศึกษาการพัฒนาการของเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมีย ซึ่งการเก็บตัวอย่างมุ่งให้ได้ตัวอย่าง
                  ไส้เดือนทะเลมากที่สุดให้พอเพียงกับการเป็นตัวแทนกลุ่มที่ใช้ศึกษาเช่นจ านวนตัวไม่ต ่ากว่า 38 ตัว เป็นต้น

                           (3) ลักษณะแหล่งน ้าหรือลักษณะพื้นท้องน ้าที่ท าการศึกษา เช่น การศึกษาสัตว์หน้าดินในบริเวณแม่

                  น ้าป่าสักหรือการศึกษาการกระจายของปูก้ามดาบในบริเวณป่าชายเลนปากแม่น ้าท่าจีน และการศึกษาการ
                  กระจายของเพรียงหินบนหาดหิน เป็นต้น ซึ่งจะมีความส าคัญในการก าหนดเครื่องมือและวิธีการเก็บตัวอย่าง

                  สัตว์หน้าดินตลอดจนการก าหนดจุดเก็บตัวอย่างเพื่อเป็นตัวแทน

                           (4) เครื่องมือและวิธีการศึกษาที่ใช้ควรเป็นวิธีที่เป็นมาตรฐานสากล เป็นที่นิยมใช้ในการศึกษาสัตว์
                  หน้าดิน การอ้างอิงเพื่อใช้วิธีการศึกษาและเครื่องมือที่เป็นสากลจะช่วยท าให้ข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลที่ถูกต้องและ

                  เชื่อถือได้ เพื่อสามารถเปรียบเทียบกับข้อมูลจากงานวิจัยสัตว์หน้าดินที่ด าเนินการในพื้นที่ศึกษาเดียวกันหรือใน

                  พื้นที่ศึกษาอื่น ในบางกรณีอาจต้องมีการดัดแปลงวิธีการเก็บตัวอย่างหรือเครื่องมือในการเก็บตัวอย่างสัตว์หน้า
                  ดินให้เหมาะสมก็ต้องมีการบันทึกไว้อย่างละเอียด ที่ส าคัญวิธีการหรือเครื่องมือที่ใช้นั้นต้องสามารถให้มีการ

                  ทดลองใช้ได้ผลสามารถให้ข้อมูลที่ถูกต้องได้เช่นเดียวกันเมื่อมีผู้อื่นได้อ่านและน าไปท าตามได้ เช่นการใช้

                  กระบอกฉีดยาพลาสติก (Syringe) ที่มีขนาดที่รู้ปริมาตรอย่างแน่นอนมาดัดแปลงเป็นท่อเจาะดินส าหรับเก็บ
                  ตัวอย่างสัตว์หน้าดินขนาดเล็กในหาดเลนหรือป่าชายเลน เป็นต้น ดังภาพที่ 4.1 ใช้กระบอกฉีดยาพลาสติก

                  ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 เซนติเมตร แล้วตัดส่วนปลายของกระบอกฉีดยาออก เวลาเก็บตัวอย่างสัตว์หน้าดิน

                  กดกระบอกฉีดยาลงไปในดินให้ลึกกว่า 5 เซนติเมตร จากนั้นดึงกระบอกฉีดยาพร้อมตัวอย่างดินขึ้นมาค่อย ๆ
                  ดันกระบอกสูบจนระดับผิวดินอยู่ที่ระดับ 5 เซนติเมตรที่ท าเครื่องหมายไว้บนกระบอกฉีดยา ตัดดินส่วนที่โผล่

                  พ้นกระบอกฉีดยาทิ้งไป ดันดินยาว 5 เซนติเมตร ที่เหลือในท่อเก็บตัวอย่างใส่ในถุงซิปล๊อกส าหรับการวิเคราะห์

                  ชนิดต่อไป
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121