Page 119 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 119

การเก็บและวิเคราะห์ตัวอย่างสัตว์หน้าดิน                                                101



                  ทราย กรวด หิน โคลนหรือดิน หรืออาจจะเป็นความลึกของการเก็บตัวอย่าง ความกว้างของล าน ้า อัตราการ

                  ไหลของน ้า ความเค็มหรือปัจจัยอื่น ๆ ที่ควรพิจารณาถึง
                           (6) การเก็บตัวอย่างน ้าส าหรับการวิเคราะห์ทางกายภาพและทางเคมี ต้องใกล้กับจุดที่เก็บตัวอย่าง

                  สัตว์หน้าดิน เพื่อให้แน่ใจว่าค่าที่วัดได้นั้นส่งผลต่อสัตว์หน้าดินในบริเวณนั้นจริง ส าหรับการเก็บตัวอย่างสัตว์

                  หน้าดินควรท าการเก็บในเวลาเดียวกันทุกครั้งในแต่ละจุด และควรจะใช้เครื่องมืออันเดียวกันในการเก็บ
                  ตัวอย่าง

                           (7) ก าหนดจุดเก็บตัวอย่างเพื่อการศึกษาสัตว์หน้าดินควรอยู่ในบริเวณที่สามารถติดตามผลได้ โดยไม่

                  มีการเปลี่ยนแปลงจนไม่สามารถเก็บตัวอย่างจุดเดิมได้
                           ลักษณะการกระจายของสัตว์หน้าดินในพื้นท้องน ้านั้นมีความส าคัญในการตัดสินใจเพื่อเลือกขนาด

                  ของเครื่องมือเก็บตัวอย่าง เช่นขนาดของตารางสี่เหลี่ยมที่ใช้ในการนับสัตว์หน้าดินกลุ่มที่อยู่บริเวณผิวหน้าดิน ที่

                  ส าคัญการก าหนดจ านวนตัวอย่างสัตว์หน้าดินว่าควรเป็นเท่าไรเป็นจ านวนที่ซ ้าจึงจะเป็นตัวแทนที่เหมาะสม
                  ส าหรับการศึกษาในครั้งนี้ ลักษณะการกระจายของสัตว์หน้าดินส่วนใหญ่จะมีการกระจายแบบที่แต่ละตัวมี

                  ระยะห่างระหว่างกัน เท่ากัน หรือมีลักษณะเรียงแถวเป็นระเบียบในหน้ากระดาน ดังภาพที่ 4.2 ลักษณะการ

                  กระจายที่มีระยะห่างระหว่างกันเท่ากันเป็นลักษณะการกระจายแบบ uniform ซึ่งเราจะเห็นได้จากลักษณะ
                  ของรูปูก้ามดาบที่มักเรียงต่อกันโดยที่แต่ละตัวปูนั้นมีระยะส าหรับหากินเป็นรัศมีโดยรอบรูของมันเป็นอาณาเขต

                  ที่ชัดเจนของแต่ละตัว การกระจายอีกแบบหนึ่งที่พบมากคือการกระจายแบบรวมเป็นกลุ่มเป็นกระจุกเช่น การ

                  รวมกลุ่มของพวกหอยขี้นกหอยขี้กาบนดิน หรือกลุ่มหอยแมลงภู่หอยนางรม ทั้งเพรียงหินที่เกาะแน่นรวมกัน
                  บริเวณหาดหิน ลักษณะการกระจายเป็นกลุ่มก้อนนี้เรียกว่าเป็นแบบ clump ส่วนการกระจายแบบกระจัด

                  กระจายทั่วไปบนพื้นดินแบบสุ่มที่เรียกว่าการกระจายแบบ random นั้น มักพบได้น้อยในธรรมชาติ แต่เป็น

                  เครื่องมือส าคัญในการช่วยตัดสินใจเลือกเครื่องมือและจ านวนตัวอย่างโดยที่มีสมมุติฐานว่าการกระจายของสัตว์
                  หน้าดินเป็นแบบสุ่มกระจัดกระจาย ดังนั้นถ้าเราเลือกเก็บตัวอย่างบริเวณใดบริเวณหนึ่งก็จะได้ข้อมูลที่ใกล้เคียง

                  กัน
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124