Page 11 - Ebook_AGRI_9-1
P. 11

วารสารเกษตรหันตรา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจ าเดือน มกราคม - เมษายน 2566                     Kaset Huntra Gazette  Vol.9 No.1 January - April 2023




                  นอกจากนี้เชื้อราในสกุลดังกล่าวยังสามารถแสดง            ซึ่งการแสดงออกถึงความต้านทานนั้น ถือเป็นปัญหา
          ความต้านทานขาม (cross-resistance) ต่อสารเคมีอื่นได้เช่นกัน   ที่ส าคัญ และส่งผลกระทบต่อการจัดการ และการควบคุมโรค

          เช่นจากรายงานของ Pongpisutta et al. [10] ที่พบว่าเชื้อรา    แอนแทรคโนสเป็นอย่างมาก อีกทั้งถือเป็นความเสียหาย

           Colletorichum. siamense สาเหตุโรคแอนแทรคโนส แสดงความ   ของสารเคมีในการใช้ส าหรับควบคุมเช่นกัน
          ต้านทานต่อสารเคมีในกลุ่ม benzimidazole (รูปที่ 2)              ดังนั้นเพื่อเป็นการลดความเสี่ยงในการกระตุ้น

                  นอกจากนี้เมื่อท าการตรวจสอบด้วยวิธี poisoned food   ให้เชื้อราเกิดความต้านทานต่อสารเคมี ซึ่งจะส่งผลให้

          พบว่า สามารถต้านทานต่อสารเคมีในกลุ่ม QoI ด้วยเช่นกัน    การควบคุมไม่มีประสิทธิภาพ คือการใช้สารเคมีตามอัตรา
                                                                  ที่ฉลากแนะน า ไม่ใช้สารเคมีในอัตราที่สูงเกินความจ าเป็น

           แต่ในสารเคมีกลุ่ม DMI ยังสามารถควบคุมและไม่แสดง        มีการใช้สารเคมีแบบสลับกลุ่ม และกลไกการออกฤทธิ์ ร่วมกับ

           ความต้านทาน ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของ FRAC [8] ที่พบว่าสารเคมี  การควบคุมด้วยวิธีทางกายภาพ ทางชีวภาพ และการเขตกรรม
           ในกลุ่ม benzimidazole และ QoI จะส่งผลให้เชื้อราแสดงความ
          ต้านทานต่อสารเคมีได้ในระดับสูง ในขณะที่สารกลุ่ม DMI     เพื่อลดปริมาณเชื้อในแปลงปลูกและกระบวนการผลิต รวมถึง

          จะส่งผลให้เชื้อราแสดงความต้านทานต่อสารเคมีในระดับต่ ากว่า   ควรมีการบันทึกการใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร

                                                                  เพื่อเป็นฐานข้อมูลส าหรับการจัดการ และตรวจสอบย้อนกลับ
                                                                  โดยอาจประยุกต์ใช้ร่วมกับการท าตามข้อก าหนดของมาตรฐาน

                                                                  สินค้าเกษตร เช่น มาตรฐานการผลิตทางการเกษตรที่ดี


                                                                  และเหมาะสม (Good Agriculture Practices; GAP) หรือ
                                                                  มาตรฐานวิธีการที่ดีในการผลิต   (Good Manufacturing
                                                                  Practice; GMP) เป็นต้น เพื่อเป็นการจัดการโรคอย่างยั่งยืน

                                                                  รวมถึงเป็นการเปิดตลาดการค้าเพื่อให้สินค้าเกษตรของไทย
                                                                  สามารถส่งไปยังต่างประเทศ และเป็นการยืนยันถึง

                                                                  ความปลอดภัยของผลผลิตต่อผู้บริโภค ซึ่งจะท าให้ประเทศไทย

                                                                  ก้าวสู่การเป็นครัวโลก และแหล่งผลิตสินค้าเกษตรที่ส าคัญ
             รูปที่ 2 ความแตกต่างของล าดับนิวคลีโอไทด์ กรดอะมิโน (a-b)     ของโลกได้อย่างภาคภูมิ

                     และลักษณะโคโลนีบนอาหารเลี้ยงเชื้อที่ผสมสารเคมี
                       ส าหรับการตรวจสอบและประเมินความต้านทาน

                       ต่อสารเคมีในกลุ่ม benzimidazole ของเชื้อรา
                       สกุล Colletotrichum

           แหล่งที่มา: Bincader et al. (2021) [11]





                                                                                         ผู้เขียนบทความ: ดร.สัณฐิติ บินคาเดอร์
                                                            อาจารย์ประจ าสาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร

                                                                                      มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ



                                                                               สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

                                                          - 11 -
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16