Page 7 - Ebook_AGRI_9-1
P. 7

วารสารเกษตรหันตรา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจ าเดือน มกราคม - เมษายน 2566                     Kaset Huntra Gazette  Vol.9 No.1 January - April 2023

























                    รูปที่ 1 ผักกาดคอสจากแหล่งปลูกผักสลัดแบบไม่ใช้ดินที่แสดงอาการแผลจุดสีน้ าตาล ขอบแผลสีน้ าตาลเข้ม

                         เจริญซ้อนกันเป็นวง (A), ลักษณะโคโลนีเชื้อราสาเหตุโรคใบจุดผักกาดคอสบนอาหารเลี้ยงเชื้อ PDA
                         บ่มใต้แสง near UV สลับมืด 12 ชั่วโมง นาน 7 วัน (B); และ เชื้อราสาเหตุโรคใบจุดผักกาดคอส

                         ใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงชนิด compound microscope ที่ก าลังขยาย 400 เท่า (C).


                          ผู้เขียนบทความ: ดร.สัณฐิติ บินคาเดอร์, ดร. ธนวรรณ พรมขลิบนิล, ดร. ศิโรรัตน เขียนแม้น, ดร.ทิพย์วรา เทียนสว่าง และ อ.อรุณี คงสอน

                                                          อาจารย์ประจ าสาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
                                                                                    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ


        เอกสารอ้างอิง

        [1]   Jeffrey, C. (2007). Compositae: Introduction with key to tribes. pp 61-87. In Kadereit, J.W. and Jeffrey C. (eds.) Families
                                                                             สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
              and Genera of Vascular Plants, vol. VIII, Flowering Plants, Eudicots, Asterales, Springer-Verlag, Berlin, Germany.

        [2]   Collado-Gonzalez, J., M.C. Pinero, G. Otalora, J. Lopez-Marín and F. M. del Amor. (2022). Unraveling the nutritional and

              bioactive constituents in baby-leaf lettuce for challenging climate conditions. Food Chem. 384: 132506.
        [3]   Medina-Lozano, I., J.R. Bertolín and A. Díaz. (2021). Nutritional value of commercial and traditional lettuce (Lactuca

              sativa L.) and wild relatives: Vitamin C and anthocyanin content. Food Chem. 359: 129864.

        [4]   Watanabe, T. (2018). Pictorial Atlas of Soilborne Fungal Plant Pathogens and Diseases. CRC Press, Boca Raton, Florida, US.
              298 pp.

        [5]   จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู และ วิราพร ชีวะพานิช. (2559). ประสิทธิภาพของเชื้อรา Trichoderma asperellum และ
              โพแทสเซียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟตต่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตและการลดโรครากเน่าของผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์. ว.

              วิทย.กษ. 47(3): 363 – 374.

        [6]   รัติยา พงศ์พิสุทธา สัณฐิติ บินคาเดอร์  ชัยณรงค์ รัตกรีฑากุล ศิโรรัตน์ เขียนแม้น ทิพย์วรา เทียนสว่าง  ธนวรรณ พรหมขลิบนิล  และอรุณี
              คงสอน. (2566). โรคใบจุดของผักกาดคอส (Lactuca sativa var. longifolia) และศักยภาพของสารเคมีเพื่อป้องกันการตกค้างของเชื้อราใน

              ระบบการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน. ใน งานประชุมวิชาการแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิครั้งที่ 6 วันที่ 27-28 เมษายน 2566.





                                                           - 7 -
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12