Page 15 - Ebook_AGRI_9-1
P. 15

วารสารเกษตรหันตรา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจ าเดือน มกราคม - เมษายน 2566                     Kaset Huntra Gazette  Vol.9 No.1 January - April 2023


        ผลงานวิชาการนักศึกษา                                      พัฒนาทักษะวิชาชีพผ่านโครงงานสหกิจศึกษา
                โครงงานสหกิจศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร




             การศึกษาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทาร์ตจากแป้งพิซซ่า             “การจัดการคลังเก็บวัตถุดิบและบรรจุภัณฑ์

             ส าเร็จรูปของ บริษัท อัลเฟรโด เอ็นเตอร์ไพรส์ จ ากัด        ของบริษัทเจริญภัณฑ์เบเกอรี่ จ ากัด”

           บทคัดย่อ                                             บทคัดย่อ
                  การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการลดของเสีย      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษากระบวนการ

           ภายในโรงงานคือแป้งพิซซ่าส าเร็จรูปของบริษัทอัลเฟรโด เอ็นเตอร์ไพรส์   แก้ปัญหาโดยใช้หลักการ 6ส. จัดการคลังสินค้าให้มีระเบียบ
           จ ากัด ขอบเขตการศึกษาคือ พัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้แป้งพิชซ่าส าเร็จรูป  สะดวกต่อการใช้งาน การจัดการระบบของคลังสินค้าโรงงานให้สามารถ

          ทดแทนแป้งสาลีวิเคราะห์คุณภาพทางกายภาพและการยอมรับ     ตรวจสอบเป็นปัจจุบัน และเพิ่มพื้นที่ภายในคลังเก็บสินค้าให้สามารถ
           ของผู้บริโภค การใช้แผนภาพก้างปลาประกอบการวิเคราะห์ข้อมูล   จัดเก็บได้มากขึ้น โดยใช้การวิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนภูมิก้างปลา
           ผลการวิจัยพบว่า แป้งพิซซ่าส าเร็จรูปที่ขนาดไม่ได้ตามมาตรฐาน เช่น   แก้ปัญหาด้วยหลักการ 6ส. จัดแผนผังคลังสินค้าโดยการจัดเก็บสินค้า

           รูปร่างที่เบี้ยว ยุบ หรือ เศษที่ติดตามผลิตภัณฑ์ มีแนวทางการแก้ไข  ตามประเภทของสินค้า (Commodity System) ใช้หลักการเข้าก่อน

           ปัญหาคือ การใช้แป้งพิซซ่าส าเร็จรูปทดแทนแป้งสาลี 3 ระดับ ได้แก่   ออกก่อน (First-In First-Out: FIFO) ผลจากการวิจัยพบว่า ปัญหาคือ
          ร้อยละ 25, 75 และ 100 โดยน้ าหนักในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทาร์ต   มีวัตถุดิบและบรรจุภัณฑ์อยู่ในคลังเป็นจ านวนมากที่ไม่ได้รับ

                   การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทาร์ตจากแป้งพิซซ่าส าเร็จรูป ประเมิน  การตรวจสอบ ดูแล และไม่น าไปใช้งานจนเกิดความเสียหาย การจัดวาง
           คุณภาพความชอบของผลิตภัณฑ์พบว่า การใช้แป้งพิชซ่าส าเร็จรูป   ไม่เป็นระเบียบท าให้สิ้นเปลืองพื้นที่การท างาน แนวทางการแก้ปัญหา

           ร้อยละ 75 ทดแทนแป้งสาลี ผู้ประเมินให้คะแนนความชอบด้านลักษณะ  คือการน าหลักการ 6ส. ดูแลเรื่องสินค้าคงคลังและความสะอาด

           ปรากฏ สี กลิ่น รสชาติ เนื้อสัมผัส และความชอบโดยรวม มีคะแนน   ใช้การแบ่งประเภทสินค้าเพื่อให้เป็นระเบียบง่ายต่อการใช้งาน
           ระดับปานกลาง(7.20 -8.03) ค่ากายภาพด้านค่าสี L*,a*,b* เท่ากับ    ใช้หลักการเข้าก่อนออกก่อนเพื่อไม่ให้มีสินค้าเก่าค้างอยู่ในคลัง
          66.68±2.38, 0.85±0.30, 22.98±1.52 และค่าความแข็งเท่ากับ    เป็นเวลานาน หลังการปรับปรุงคลังสินค้าพบว่า การท างาน

           617.57 g สามารถเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์แป้งพิชซ่าที่ไม่ได้มาตรฐานได้   ของพนักงานในการจัดเบิกวัตถุดิบ ใช้เวลาลดลง 20 นาทีต่อครั้ง
           ค าส าคัญ: การเตรียมวัตถุดิบ, พรู๊ฟ, คูลดาวน์, กระบวนการผลิต   การจัดเบิกบรรจุภัณฑ์ ใช้เวลาลดลง 30 นาทีต่อครั้ง การจัดเบิก

                                                                ของส่งร้านสาขา ใช้เวลาลดลง 30 นาทีต่อครั้ง
                                                                ค าส าคัญ: คลังสินค้า ,สินค้าคงคลัง, First-In First-Out








                                                                 นักศึกษา : นางสาวอารีลักษณ์ ภาคโพธิ์
                                   นักศึกษา : นางสาวปริยากร ธีระศาสตร์

                                 และนางสาวรสริน นิลสุขุม         และนางสาวอารียา กิ่งทวยหาญ
                                                                 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผศ.พาขวัญ ทองรักษ์,
                                 อาจารย์ที่ปรึกษา : ดร.สุภาพร พาเจริญ,    ดร.วชิรญา เหลียวตระกูล และ

                                 ดร.ฌนกร หยกสหชาติ และ           ดร.ปวิชญา โภชฌงค์

                                 ดร.สิริวรรณ สุขนิคม             สถานที่ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา : บริษัท

                                 สถานที่ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา :   เจริญภัณฑ์เบเกอรี่ จ ากัด จ.นครราชสีมา
                                   บริษัทอัลเฟรโด เอ็นเตอร์ไพรส์ จ ากัด
                                                                 รางวัลรองชนะเลิศ : ประเภทโครงงงาน
                                   จังหวัดพระนครศรีอยุธยา        ด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์
                                 รางวัลรองชนะเลิศ : ประเภทโครงงาน  และการจัดการ

                                 ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี





                                                          - 15 -
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20