Page 48 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 48

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               30



                           (2) ปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำ (dissolved oxygen)

                           ออกซิเจนละลำยในน ้ำมีควำมส ำคัญกับทุกชีวิตในแหล่งน ้ำ ปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำในแหล่งน ้ำ
                  ขึ้นกับปัจจัยหลำยประกำร เช่น อุณหภูมิ แร่ธำตุที่ละลำยในน ้ำ ควำมกดดันบรรยำกำศ กระแสน ้ำ กำร

                  สังเครำะห์แสงของพืชน ้ำ กำรหำยใจและย่อยสลำยสำรอินทรีย์ของสิ่งมีชีวิตในแหล่งน ้ำ ในแหล่งน ้ำนิ่งมี

                  ออกซิเจนละลำยค่อนข้ำงจ ำกัด เนื่องจำกออกซิเจนจำกบรรยำกำศซึมผ่ำนผิวน ้ำลงไปได้น้อย รวมทั้งยังมีสัตว์
                  และพวกย่อยสลำยซำกสิ่งมีชีวิตอำศัยอยู่ด้วย จึงท ำให้ในบำงครั้งออกซิเจนมีลดลงมำกหรือถึงขั้นไม่เพียงพอ

                  โดยทั่วไปปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำในแหล่งน ้ำนิ่งค่อนข้ำงมีอยู่จ ำกัด ซึ่งส่วนใหญ่จะได้จำกกำรพัดผ่ำนของ

                  กระแสลมที่บริเวณผิวหน้ำน ้ำ และจำกกำรสังเครำะห์แสงของแพลงก์ตอนพืชและพืชน ้ำ สัตว์หน้ำดินส่วนใหญ่
                  จึงเป็นพวกทนต่อสภำพกำรขำดออกซิเจนในแหล่งน ้ำได้ดี จำกกำรที่ปริมำณออกซิเจนละลำยน ้ำในแหล่งน ้ำนิ่ง

                  มีค่อนข้ำงจ ำกัด สัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่ในแหล่งน ้ำประเภทนี้จะมีกำรปรับตัวเพื่อให้สำมำรถด ำรงชีวิตอยู่ใน

                  สภำพที่มีออกซิเจนต ่ำได้ โดยกำรมีรยำงค์ข้ำงล ำตัวที่ใช้ส ำหรับดูดซึมก๊ำซออกซิเจนและธำตุอำหำรเช่นในพวก
                  ไส้เดือนน ้ำ Branchiura sowerbyi (ภำพที่ 2.2) นอกจำกนี้กำรสร้ำงท่ออำศัยจำกดินตะกอนของพวกไส้เดือน

                  น ้ำ Tubifex sp. หรือสร้ำงปลอกจำกเศษวัสดุพวกดินโคลน เศษซำกใบไม้ หรือสำหร่ำยตำมพื้นหน้ำดินของ

                  พวกตัวอ่อนริ้นน ้ำจืดหรือหนอนแดง Chironomus sp. ที่มักพบอำศัยอยู่ในบริเวณแหล่งน ้ำที่มีออกซิเจน
                  ละลำยน ้ำต ่ำ ท่อหรือปลอกของสัตว์หน้ำดินเหล่ำนี้นอกจำกช่วยป้องกันตัวเองจำกศัตรูแล้วยังช่วยกักเก็บ

                  ออกซิเจนเพื่อกำรหำยใจด้วย ซึ่งค่อนข้ำงต่ำงจำกสัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่ในแหล่งน ้ำไหลที่มีกระแสน ้ำไหลแรง

                  โดยส่วนใหญ่จะไม่มีเหงือกข้ำงตัวส ำหรับกำรช่วยดูดซึมก๊ำซออกซิเจนและธำตุอำหำร เนื่องจำกมีก๊ำซออกซิเจน
                  จำกบรรยำกำศซึมผ่ำนอยู่ตลอดเวลำ ดังนั้นสัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่ในแหล่งน ้ำไหลส่วนมำกจึงเป็นพวกที่

                  ต้องกำรออกซิเจนเพื่อกำรด ำรงชีวิตสูงและเป็นพวกที่ไม่ทนต่อสภำวะขำดออกซิเจน
































                  ภาพที่ 2.2 ไส้เดือนน ้ำ Branchiura sowerbyi มีเหงือกจ ำนวนมำกที่ส่วนท้ำยล ำตัวเพื่อเพิ่มพื้นที่รับออกซิเจน
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53