Page 50 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 50

แหล่งอาศัยของสัตว์หน้าดิน                                                               32












































                  ภาพที่ 2.3 กำรป้องกันตัวเองจำกผู้ล่ำของสัตว์หน้ำดินที่อำศัยอยู่ในแหล่งน ้ำนิ่ง (ก) ไส้เดือนน ้ำTubifex sp.

                            สร้ำงท่ออำศัย และ (ข) แมลงหนอนปลอกน ้ำใช้เศษใบไม้ห่อหุ้มล ำตัว

                            ที่มำ :  (ก) http://users.atw.hu/rendszertan/NewFiles/Tubifex%20tubifex.html
                                  (ข) http://bioweb.uwlax.edu/bio210/s2013/chase_robe/nutrition.htm


                           แหล่งน ้ำไหล (running water or lotic habitat) ได้แก่ แหล่งน ้ำที่เป็นแม่น ้ำ น ้ำตกและล ำธำร ซึ่ง

                  น ้ำมีกำรหมุนเวียน มีกระแสน ้ำตลอดเวลำท ำให้มีกำรเติมออกซิเจนจำกบรรยำกำศและมีกำรแลกเปลี่ยน
                  ออกซิเจนในมวลน ้ำได้ดี ควำมลึกของแหล่งน ้ำตลอดจนควำมเร็วของกระแสน ้ำจะมีผลต่อกำรด ำรงชีวิตของสัตว์

                  หน้ำดินที่อำศัยอยู่บริเวณนี้ แหล่งน ้ำไหลมีกำรถ่ำยเทและแลกเปลี่ยนมวลน ้ำเกิดขึ้นตลอดเวลำท ำให้สำมำรถ

                  รักษำสภำพสมดุลได้ดีกว่ำแหล่งน ้ำนิ่ง เรำสำมำรถแบ่งแหล่งน ้ำไหลออกเป็น 2 บริเวณ ตำมระดับควำมลึกของ
                  น ้ำและควำมเร็วของกระแสน ้ำ ประกอบด้วย  (1) เขตน ้ำไหลเชี่ยว (rapid zone) เป็นบริเวณเขตน ้ำตื้นซึ่งมี

                  กระแสน ้ำไหลแรงเนื่องจำกกระทบกับพื้นหินและเกำะแก่งต่ำง ๆ บริเวณเขตน ้ำไหลเชี่ยวเป็นบริเวณพื้นล ำธำร

                  พบมีกำรสะสมตะกอนใต้น ้ำได้น้อย (2) เขตน ้ำไหลเอื่อย (pool zone) เป็นบริเวณที่มีควำมลึกของน ้ำ มี
                  ควำมเร็วของกระแสน ้ำลดลงท ำให้พบว่ำมีกำรสะสมหรือกำรทับถมของตะกอนเกิดขึ้นได้มำก ตำรำงที่ 2.2 และ

                  ภำพที่ 2.4 เป็นกลุ่มสัตว์หน้ำดินที่พบได้ในแหล่งน ้ำไหล
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55