Page 16 - หนังสือ สัตว์หน้าดิน นิเวศวิทยาและการใช้ประโยชน์
P. 16

(11)



                   ภำพที่                                                                               หน้ำ
                   4.9       (ก)  เครื่องตักดินแบบเอคแมน (Ekman grab) (ข) การใช้เครื่องตักดินแบบเอคแมน  108

                            เก็บตัวอย่าง

                   4.10     เครื่องมือเก็บดินประเภทท่อเจาะแบบ box corer ที่นิยมใช้มากทะเล               109
                   4.11     ท่อเก็บตัวอย่างดินแบบฟลีคเจอร์ (phleger core sampler)                       110

                   4.12     เซอร์เบอร์หรือกรอบสี่เหลี่ยม 1 ตารางฟุต (Surber or square-feet riffle samplers)   110

                   4.13     (ก) ดริฟท์เน็ท (Drift net samplers) (ข) การใช้ดริฟท์เน็ทเก็บตัวอย่างในล าธาร   111
                   4.14     เครื่องมือและขั้นตอนการเก็บตัวอย่างสัตว์หน้าดินในบริเวณหาดเลน               113

                             (ก) ตารางสี่เหลี่ยมนับสัตว์ (ข) ท่อเก็บตัวอย่าง (ค) ตะแกรงร่อนหาสัตว์หน้าดิน

                             (ง) เก็บตัวอย่างโดยใช้ตารางสี่เหลี่ยมนับสัตว์ (จ) เก็บสัตว์หน้าดินด้วยท่อเก็บตัวอย่าง
                             (ฉ) ร่อนหาตัวอย่างสัตว์หน้าดินด้วยตะแกรงร่อน

                   4.15     การเก็บตัวอย่างสัตว์หน้าดินในบริเวณแนวปะการัง                               113

                   5.1      สัตว์ทะเลหน้าดินกลุ่มหลักในป่าชายเลน                                        122
                   5.2      รูปแบบการแทนที่ของประชากรสัตว์หน้าดินในป่าชายเลนปลูกบนหาดเลน                125

                             (ก) ป่าชายเลนปลูกบนหาดเลนโดยการปลูกไม้แสมขาวบริเวณคลองโคนจังหวัด

                            สมุทรสงคราม (ข) ป่าชายเลนปลูกบนหาดเลนงอกโดยการปลูกโกงกางใบใหญ่บริเวณ
                            ปากพูน จังหวัดนครศรีธรรมราช

                   5.3      การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบชนิดและการกระจายของสัตว์ทะเลหน้าดินในป่าชายเลน      127

                            ปากแม่น ้าท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร ในปี พ.ศ. 2541 และปี พ.ศ. 2547
                   5.4      การเปรียบเทียบลักษณะสายใยอาหารในบริเวณนากุ้งร้างกับลักษณะสายใยอาหารใน       128

                            บริเวณป่าโกงกางปลูกอายุ 6 ปี บริเวณป่าชายเลนปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

                   5.5      สัตว์หน้าดินที่สามารถใช้เป็นตัวบ่งชี้ความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลน            129
                            (ก) ปูก้ามดาบ Uca forcipata (ข) ปูแสม Perisesarma eumolpe

                            (ค) หอยสีแดง Ovassiminea brevicula

                   5.6      การกระจายของสัตว์หน้าดินที่สัมพันธ์กับปริมาณอินทรียสารในทะเล                130
                   5.7      สัตว์หน้าดินที่เป็นดัชนีหรือตัวบ่งชี้ที่ปริมาณอินทรียสารสูงในทะเล           132

                            (ก) ไส้เดือนทะเลวงศ์ Capitellidae (ข)  ไส้เดือนทะเลวงศ์ Spionidae  (ค) ไส้เดือน

                            ทะเลวงศ์ Nereidae (ง) หอยสองฝา Tellina sp. (จ) แอมฟิพอด (ฉ) หอยขี้กา
                            Cerithidea cingulata
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21